โรงพยาบาลมหาราชนครศรีธรรมราช

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
นโยบายการให้บริการวัคซีนป้องกันโรค ไข้หวัดใหญ่ ประจำปี 2557
Advertisements

Medication reconciliation
การจัดการความเสี่ยงด้านยา ปี 2550
หน่วยงานจักษุกรรม รพ.ค่ายวชิราวุธ.
รายงานอาการไม่พึงประสงค์จากการใช้ยา ประจำปีงบประมาณ 2551
Risk Management JVKK.
โครงการ “เวทีพบปะ HR ระดับต้น”
การหาความเที่ยงของการจำแนกประเภท ผู้ป่วยด้วยระบบ IRR Testing
นาวาอากาศตรีหญิง พรประภา โลจนะวงศกร
ความคลาดเคลื่อนในการให้ยา
แนวทางการให้บริการวัคซีนไข้หวัดใหญ่ ประจำปี 2551
การเตรียมความพร้อมเพื่อรับมือกับการระบาดของโรคไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่
แนวทางการตรวจราชการและนิเทศงานกรณีปกติระดับกระทรวง กระทรวงสาธารณสุข เขตตรวจราชการที่ 5 ประจำปีงบประมาณ
กลุ่ม 2 กำหนดมาตรฐานยา รพ.ทบ..
ภก. ปรมินทร์ วีระอนันตวัฒน์
สำนักงานตรวจบัญชีสหกรณ์ที่ 6
PCT กุมารเวชกรรม รพ.เชียงรายฯ
Medication reconciliation
งานบริหารความเสี่ยง Risk management (RM)
สรุปภาพรวมการดำเนินงานที่ผ่านมา
การนำร้านยาคุณภาพเข้าร่วมพัฒนาคุณภาพบริการ ระบบประกันสุขภาพถ้วนหน้า
1. ชื่อผลงาน: ส่งเสริมการเข้าถึงบริการอย่างเป็นมิตร
การพัฒนางานคุณภาพงานเอดส์
ผลการเฝ้าระวัง และป้องกันความล้มเหลวในการรักษาในโรงพยาบาลระโนด จ. สงขลา โดย นส.จาฤดี กองผล, นางละมัย ช่วยแดง พยาบาลประจำคลินิกยาต้านไวรัสโรงพยาบาลระโนด.
บริบาลเภสัชกรรม รวดเร็วปลอดภัย คลินิกเด็กหัวใจสีเหลือง.
“ ถุงมือ สะดวกใช้ – สบายใจ ผู้ตรวจ เพื่อลดการปนเปื้อน ”
กลุ่มงานคุ้มครองผู้บริโภค และกฎหมาย
การติดตามประเมินผล โครงการให้วัคซีนป้องกัน โรคไข้หวัดใหญ่
ประเด็นในการนำเสนอระบบข้อมูลสารสนเทศของ รพ.สต.
ในการสอบสวนโรคกลุ่มต่าง ๆ
การรายงาน ADR/ การป้องกันการแพ้ยาซ้ำ
คณะกรรมการเภสัชกรรม และการบำบัด
โรงพยาบาลสุรินทร์ จังหวัดสุรินทร์
บทเรียนจากการเก็บข้อมูลภาคสนามเพื่อการติดตามตาม HIVDR-EWI
เข็มมุ่ง บุคลากรทุกคนทุกระดับในกลุ่มการพยาบาลใช้หลัก Standard precautions (การปฏิบัติขั้นพื้นฐานเพื่อป้องกันการติดเชื้อ)ในการปฏิบัติงาน ผู้ป่วยที่สามารถแพร่กระจายเชื้อหรือมีความไวต่อการรับเชื้อได้รับการดูแลตามหลัก.
บันได 3 ขั้น ความสำเร็จในการพัฒนาคุณภาพ
การประเมินการใช้ยา ( Drug Use Evaluation,DUE )
:: Pitfall : การบริหารการพยาบาล ::
โรงพยาบาลเฉลิมพระเกียรติ
สิ่งที่ต้องทำต่อ 1.นำเสนอผลสำเร็จของนโยบาย ปี นำเสนอนโยบายปี 55 และตัวชี้วัด สำคัญ ตามใบงานที่ 7 8และ 9 ประธาน : นพ.สสจ. วันที่ 13 ก.ย.54 เวลา 13.00น.
การเฝ้าระวังโรคและภัยสุขภาพ
การจัดการระบบยา เพื่อ ความปลอดภัย บันไดขั้น 2 สู่ ขั้น 3.
แนวทางการบันทึก และตรวจประเมินคุณภาพ การบันทึกเวชระเบียน ผู้ป่วยนอก
โรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราชเดชอุดม
เทคนิคการจัดการ ความคลาดเคลื่อนทางยาในเครือข่ายบริการปฐมภูมิเขตเมือง
สรุปผลงาน ปีงบประมาณ 2552 ( ตุลาคม กันยายน 2552 )
การบริหารและพัฒนาบุคลากร HR /HRD
มาตรการป้องกันควบคุม โรคติดต่อในช่วงฤดูฝน - ให้คปสอ. ทุกแห่งเร่งรัดดำเนินการดังนี้ ๑. การป้องกัน (Protection) ๑. ๑ สนับสนุนการฝึกอบรมแก่บุคลากรทางการแพทย์ด้านการ.
การให้คำปรึกษาด้านยาแก่ผู้ป่วยนอก
โครงการลดภาวะแผลฝีเย็บแยก

S terilization P itfalls สถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาล
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
เกณฑ์การส่งต่อผู้ป่วย COPD ดูแลต่อเนื่องที่บ้าน
1. แนวทางการรับคำสั่งการใช้ รถ การประกันระยะเวลาการ รับส่งผู้ป่วย 4. ความรู้ความสามารถของ พขร. ในเรื่องการช่วยฟื้นคืนชีพ การเคลื่อนย้ายผู้ป่วย กฎจราจร.
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
งานคุณภาพ ของแผนกทารกแรกเกิด
งานผู้ป่วยใน โรงพยาบาลบ้านเขว้า
1. การเตรียมผู้ป่วยก่อนทำการ ตรวจทางรังสีวิทยา 2. การเฝ้าระวังในผู้ป่วยที่อาจ เกิดเหตุฉุกเฉินขณะรอตรวจ 3. ความเหมาะสมของการส่ง ตรวจทางรังสีวิทยา 4. การควบคุมคุณภาพของการ.
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
6. การทำงานเป็นทีมระหว่างสาขา วิชาชีพ 1. การคัดกรองจำแนกประเภทผู้ป่วย ผู้ป่วยกลุ่มเสี่ยงที่อาจถูกคัดกรอง ผิดพลาด 2. การระบุตัวผู้ป่วยในกรณีต้อง เคลื่อนย้ายผู้ป่วย.
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
Medication Reconciliation
ใบสำเนางานนำเสนอ:

โรงพยาบาลมหาราชนครศรีธรรมราช การพัฒนาระบบยา โรงพยาบาลมหาราชนครศรีธรรมราช

ระบบยาโรงพยาบาลมหาราชนครศรีธรรมราช คณะกรรมการเภสัชกรรมและการบำบัด * คณะอนุกรรมการเภสัชกรรมและการบำบัด - การบริหารเวชภัณฑ์ * คณะกรรมการพัฒนาระบบยา - ความปลอดภัยด้านยา * คณะกรรมการกำกับและประเมินการใช้ยา * คณะทำงานบริหารยาเคมีบำบัด

นโยบายความปลอดภัยด้านยา ของโรงพยาบาล 1. การป้องกันการแพ้ยาซ้ำ 2. การป้องกันความคลาดเคลื่อนทางยา 3. การเฝ้าระวังและติดตามการใช้ยากลุ่มเสี่ยงสูง 4. การดูแลความต่อเนื่องของการใช้ยาของผู้ป่วย 5. การดูแลยาสำรองหอผู้ป่วย 6. การพัฒนาระบบกระจายยาให้เป็นไปตามมาตรฐาน วิชาชีพ

แผนการพัฒนาระบบยา * การเยี่ยมสำรวจระบบยา ทุก 1 เดือน เริ่ม เมษายน 2552 1. ระบบกระจายยาและการเฝ้าระวัง ME 2. การดูแลยาสำรองหอผู้ป่วย 3. การดูแลยาเดิมของผู้ป่วย 4. การใช้ยากลุ่มเสี่ยงสูง 5. การติดตามอาการไม่พึงประสงค์จากการใช้ยา

ระบบกระจายยาและการเฝ้าระวังความคลาดเคลื่อนทางยา ผู้ป่วยนอกใช้ HOSxP + ใบสั่งยา / มีการ screen ใบสั่งยาที่แพทย์ส่งทาง com ผู้ป่วยในใช้ระบบ daily dose (ยกเว้นตึกหลังคลอด) โดยใช้สำเนา DOS ส่งห้องยา / มี tripple check

ผลการเฝ้าระวังการเกิดความคลาดเคลื่อนทางยา ชนิด เป้า หมาย ปีงบประมาณ 2550 ปีงบประมาณ 2551 ปีงบประมาณ 2552 ( ต.ค. 51 – ก.พ. 52 ) OPD IPD 1. Prescribing error A-B  1% 0.04% 0.09% 0.067% 0.11% 0.279% 0.066% C-D  0.5% 0.0012% 0.0026% 0.0003% 0.0072% 0.0008% 0.011% E-I 1 ( E ) 3 ( E ) 2. Pre-dispensing error A  3% n/a 1.48% 1.01% 3. Dispensing error B 0.0004% 0.116% 0.24% 0.16% 0.0024% 0.0037% 0.004% 0.01% 0.013% 1 ( F ) 4. Administration error 0.012% 0.025% 0.029%

ผลการเยี่ยมสำรวจระบบยาโดยทีมกรรมการพัฒนาระบบยา : ระบบกระจายยา การบริหารยา real time ยังทำได้ไม่ครบถ้วน ทีมสรุปว่าจะเน้นเฉพาะ HAD ก่อน การให้ยาทางสายยาง พบปัญหาการบดยาหลายชนิด ใช้วิธีแช่น้ำรวมกัน  กำลังจัดทำข้อมูลยาที่ไม่ละลายน้ำ/ incompatability การใช้ยาเสพติด การทิ้ง มีบางหอผู้ป่วยที่การเบิกจ่ายยังไม่รัดกุม

ผลการเยี่ยมสำรวจระบบยาโดยทีมกรรมการพัฒนาระบบยา : การติดตาม ME ทีมสหสาขายังไม่เข้าใจ นิยามระดับความรุนแรงของ ME / near miss/ sentinel events การบริหารยามีการ double check ทุกหอโดยเฉพาะยา HAD การรายงานอุบัติการณ์ ME ส่วนใหญ่ยัง under report

ผลการเยี่ยมสำรวจระบบยาโดยทีมกรรมการพัฒนาระบบยา : การติดตาม ME ยาที่ใช้ร่วมกัน, ยาซ้ำของผู้ป่วยทุกรายและยาฉีด small dose ของเด็ก อยู่ในแผนพัฒนา เนื่องจากต้องเตรียมสถานที่ อุปกรณ์ และ อัตรากำลัง

แผนพัฒนาการป้องกัน ME วิเคราะห์ข้อมูลความคลาดเคลื่อนทางยาให้เห็นภาพการเกิดขึ้นซ้ำ หน่วยงาน/ ช่วงเวลา/ ความรุนแรง/ คู่ยาที่พบ แก้ไขปัญหาได้ตรงประเด็น

การดูแลยาสำรองหอผู้ป่วย ลดรายการยาเหลือเท่าที่จำเป็น Antidote, Stat dose, prn Review รายการทุก 1 ปี สำรวจยาทุก 2 เดือน + รายงานผลการสำรวจให้หอผู้ป่วยทราบด้วย ยาสำหรับ CPR ในรถ Emergency เปลี่ยนใหม่ทุก 2 เดือน

ผลการดูแลยาสำรองหอผู้ป่วย รายการยาและมูลค่ายาสำรองหอผู้ป่วยลดลง ไม่มียา KCL inj. stock ทุกหอผู้ป่วย

ผลการเยี่ยมสำรวจระบบยาโดยทีมกรรมการพัฒนาระบบยา : การดูแลยาสำรองหอผู้ป่วย มีการปรับปรุงรายการยาสำรอง ตามนโยบาย PTC ทบทวนการตรวจสอบอุณหภูมิตู้เย็นให้เป็นแนวทางเดียวกัน แผนการจัดยารถ CPR รูปแบบเดียวกันทุกหอผู้ป่วย

การดูแลยาเดิม ( Medication Reconciliation ) OPD พยาบาลหน้าห้องตรวจสอบถามเกี่ยวกับยาเดิม ส่งปรึกษาเภสัชกร (วันพฤหัสมีเภสัชกรดูแลยาเดิมหน้าห้องตรวจโรคไต) สรุปรายการยาเดิม +ปัญหาเรื่องยา ลงในแบบฟอร์มยาเดิม แพทย์พิจารณาสั่งใช้ยา

การดูแลยาเดิม ( Medication Reconciliation ) IPD * ใช้โปรแกรม HOSxP ในการตรวจสอบยาเดิม เชื่อมต่อข้อมูลผู้ป่วยใน + ผู้ป่วยนอก ย้าย ward และจำหน่าย แต่ยังขาดข้อมูลยาที่ได้รับจากที่อื่น แผนพัฒนา - จัดทำแบบฟอร์มบันทึกยาเดิม - ทบทวน flow การดูแลยาเดิมโดยทีมพัฒนาระบบยา - โครงการนำร่อง PCT ละ 1 ward เริ่ม 1 พ.ค.2552

การดูแลยาเดิม ( Medication Reconciliation ) IPD (กำลังดำเนินการ- เริ่ม Zone ละ 1 ward) พยาบาลหน้าห้องตรวจสอบถามเกี่ยวกับยาเดิม ส่งปรึกษาเภสัชกร เภสัชกรสรุปรายการยาเดิมลงในแบบฟอร์มยาเดิม แพทย์พิจารณาสั่งใช้ยา เภสัชกรลง profile พยาบาลรับคำสั่ง นำยาเดิมผู้ป่วยมาดูแล

การจัดการยากลุ่มเสี่ยงสูง (High Alert Drug) (เป้าหมาย: ไม่เกิด ME ระดับ C ขึ้นไป) รายการยา common HAD/ specific HAD common HAD 6 กลุ่ม Adrenergic agonist : Adrenaline, Dopamine, Dobutamine Electrolytes : KCl, Calcium gluconate, Mg SO4,3%NaCl Anticoagulants : Heparin, Enoxaparin, Warfarin Insulin inj. Narcotic drugs : Morphine, Pethidine, Fentanyl Vasodilator : Nitroprusside injection ,Nitroglycerin inj

การจัดการยากลุ่มเสี่ยงสูง (High Alert Drug) (ต่อ) Specific HAD Sedative : Dormicum inj, Chloral hydrate Hypnotic : Propofol inj,Thiopental Sodium inj ,Ketamine inj. Neuromuscular blocking agents CHEMOTHERAPY

การจัดการยากลุ่มเสี่ยงสูง (High Alert Drug) (ต่อ) กำหนดแนวทางการจัดการยา HAD แพทย์เขียนคำสั่งที่ชัดเจนใน DOS (งดใช้คำย่อ) เภสัชกรรับคำสั่งการใช้ยา Print ฉลากยา ระบุวิธีผสมยา อัตราการให้ยา + ฉลากระบุ Critical point พยาบาลรับคำสั่งการใช้ยา ติดฉลาก critical point ในใบ MARs และติดตาม เฝ้าระวังอาการ บันทึกผลการติดตาม แจ้งแพทย์ผู้รับผิดชอบ+ เขียนรายงานอุบัติการณ์

ผลการเยี่ยมสำรวจระบบยาโดยทีมกรรมการพัฒนาระบบยา : การใช้ยากลุ่มเสี่ยงสูง ยังมีการใช้คำย่อ การสั่งยาเป็นสัดส่วน รณรงค์ผ่านองค์กรแพทย์ /การปฐมนิเทศแพทย์ใหม่ การจ่ายยา ติดฉลาก HAD ไม่ครบถ้วน การบันทึกผลการเฝ้าระวัง ยังไม่มีการสรุปผลการประเมิน

การป้องกันการแพ้ยาซ้ำ . เป้าหมาย ไม่มีการแพ้ยาซ้ำจากระบบของโรงพยาบาล

ผลการเฝ้าระวังการเกิด ADR และการป้องกันการแพ้ยาซ้ำ 2551 2552 (ต.ค.51-มี.ค.52) พบประวัติการแพ้ยาซ้ำ 1866 782 สั่งยาที่แพ้ซ้ำ 44 56 แพ้ยาซ้ำ 6 2 สาเหตุ การจัดการและส่งต่อข้อมูลการแพ้ยาในผู้ป่วยที่ admit ใหม่ยังไม่เข้มงวดและ รวดเร็ว ทบทวน flow การรายงาน ADR + กระตุ้นเตือนบุคลากรที่เกี่ยวข้อง

ผลการเยี่ยมสำรวจระบบยาโดยทีมกรรมการพัฒนาระบบยา : การติดตาม ADRs * บุคลากรยังขาดความเข้าใจความหมาย ADRs type A,B และยังไม่เข้าใจขั้นตอนการรายงานเมื่อมีประวัติแพ้ยา การวางแผนแก้ปัญหา * ทบทวนความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการแพ้ยารูปแบบต่าง ๆ ให้ทีมสหวิชาชีพ * รายงานผลการเฝ้าระวัง ADR และการสั่งยาในผู้ป่วยมีประวัติแพ้ สู่ผู้ปฎิบัติงานทุกสาขาวิชาชีพ เดือนละ 1 ครั้ง

ระบบยาด้านอื่น ๆ Fatal-DI กำหนดรายการโดย PTC แล้ว และมีระบบการเตือนในระบบคอมพิวเตอร์ การบริหารยาเคมีบำบัดแบบรวมศูนย์ จัดทำแล้ว 1 ศูนย์ (OPD cases) ผู้ป่วยจาก MED/ ward อื่น ๆ อยู่ในระหว่างดำเนินการจัดหาสถานที่