แนวทางรองรับผลจาก ASEAN-CER (ASEAN-Australia-New Zealand FTA)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
แผนนำทางส่งออกไทย: โอกาสใหม่ในความท้าทาย
Advertisements

การจัดทำความตกลงการค้าเสรี อาเซียน - สหภาพยุโรป
ส่วนที่ : 2 เรื่อง การวางแผน
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (ASEAN Economic Community: AEC)
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน : ก้าวใหม่ที่ท้าทาย หรือ ความฝันที่ไกลเกินจริง
โครงการจัดทำแผนแม่บทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของประเทศไทย
ประเทศไทยได้ประโยชน์และเสียประโยชน์อะไรจาก (AFTA)
นายบัณฑิตย์ ศรีพุทธางกูร สำนักบริหารงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน
การเตรียมความพร้อมเพื่อรองรับ AEC มุมมองภาครัฐ ( )
กลุ่มที่ 3 กลุ่มจังหวัดที่ 6.1 กลุ่มจังหวัดที่ 6.2 กลุ่มจังหวัดที่ 6.3 กลุ่มจังหวัดที่ 7.1 กลุ่มจังหวัดที่ 7.2.
บทที่ 4 บทบาทของนวัตกรรม
วิกฤต-โอกาส กับการพัฒนาอย่างยั่งยืน
สัดส่วนของการส่งออก/GDP
กุลภัทรา สิโรดม 20 กรกฎาคม 2554
Free Trade Area Bilateral Agreement
แผนแม่บทงานวิจัย การสร้างเครือข่าย และการสนับสนุนงานวิจัยเชิงพาณิชย์
บรรยาย เรื่อง AEC Asean Economic Community
บรรยายองค์ความรู้เรื่อง AEC สมาคมอาเซียน
นโยบายด้านการบริการวิชาการ
การเตรียมการและการกำหนดท่าทีในการเจรจาต่อรองในระดับสากล
ยุทธศาสตร์ของไทยต่อการรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจในระดับภูมิภาคและทวิภาคี
FTA และผลกระทบต่อภาษีสรรพสามิต
วันพุธที่ ๓ เมษายน ๒๕๕๖ เวลา ๑๔. ๐๐ น. ณ ห้องประชุม ๑ ศาลาว่าการ กระทรวงมหาดไทย การประชุมคณะกรรมการเตรียม ความพร้อมของ กระทรวงมหาดไทยในการรวมตัว เป็นประชาคมอาเซียน.
การเตรียมความพร้อมกรมอนามัย เพื่อเข้าสู่ประชาคมอาเซียน ปี 2558
กรอบการเจรจาความตกลงด้านมาตรฐาน และการตรวจสอบและรับรอง ภายใต้คณะกรรมการที่ปรึกษาด้านมาตรฐานและคุณภาพของอาเซียน (ASEAN Consultative Committee for Standards.
แผนปฏิบัติราชการการศึกษา ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
ปฏิญญาการศึกษา: รากฐานประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน
HR Transformation Change to AEC 2015
ผลการดำเนินงานองค์กร (Performance Measurement)
ชี้แจงการ ประชุมกลุ่ม โดย แพทย์หญิงวรยา เหลืองอ่อน สำนักโรคติดต่ออุบัติใหม่ - กลุ่มภาครัฐ - รัฐวิสาหกิจ - ภาคเอกชน 3 กลุ่ม.
ยินดีต้อนรับ คณะกรรมาธิการเศรษฐกิจ การพาณิชย์และอุตสาหกรรม วุฒิสภา
ความตกลงหุ้นส่วนเศรษฐกิจอาเซียน-ญี่ปุ่น
โดย สมภพ อมาตยกุล 21 กันยายน 2548
กลุ่มที่ 2 กลุ่มจังหวัดที่ 3.1 (นนทบุรี พระนครศรีอยุธยา ปทุมธานี อ่างทอง) กลุ่มจังหวัดที่ 3.2 (ชัยนาท ลพบุรี สระบุรี สิงห์บุรี) กลุ่มจังหวัดที่ 4.1 (กาญจนบุรี
การพัฒนาอุตสาหกรรม ที่ “ยั่งยืน”. การพัฒนาอุตสาหกรรม ที่ “ยั่งยืน”
คำถามตามเกณฑ์ PMQA:105คำถาม หมวด1 12คำถาม.
การจัดประชุมเฉพาะกลุ่มที่ เกี่ยวข้องโดยตรง Focus Group 1st ปัญหา อุปสรรค และกลยุทธ์ ส่งเสริมงานวิจัยด้าน ICT ไทย “ โครงการส่งเสริมงานวิจัยและ พัฒนาเพื่อเสริมสร้างความ.
การจัดประชุมเฉพาะกลุ่มที่ เกี่ยวข้องโดยตรง Focus Group 3rd ปัญหา อุปสรรค แนวโน้มของ อุตสาหกรรม ICT ไทย “ โครงการส่งเสริมงานวิจัยและ พัฒนาเพื่อเสริมสร้างความ.
การจัดประชุมเฉพาะกลุ่มที่ เกี่ยวข้องโดยตรง Focus Group 4 th กลยุทธ์การส่งเสริมและพัฒนา เสริมสร้างศักยภาพอุตสาหกรรม ICT ไทย “ โครงการส่งเสริมงานวิจัยและ.
การจัดการที่ดินทำกินและที่อยู่อาศัย โดยขบวนองค์กรชุมชนและท้องถิ่น
นางสาวสุนันท์ อังเกิดโชค หัวหน้าสำนักงานจังหวัดพระนครศรีอยุธยา
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ( ASEAN Economic Community: AEC )
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน : ความฝันที่ไกลและไปไม่ถึง?
รองประธานกลุ่มอุตสาหกรรมยานยนต์ สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน AEC ASEAN ECONOMIC COMMUNITY
 *connectedthinking กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ กระทรวงพาณิชย์ 21 กันยายน 2547 การเจรจาเปิดเสรีการค้าบริการ.
การบริหารงานจังหวัดลพบุรีแบบ บูรณาการ กพร.- TRIS 18/05/2549.
การค้าการเงินโลกยุคใหม่ AEC และเศรษฐกิจประเทศไทย
รองเลขาธิการคณะกรรมการกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ
น.สพ.ไพรัช ธิติศักดิ์ 27 มกราคม 2553
“การพัฒนาสำนักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัด สู่การเป็นองค์กรสมรรถนะสูง”
Strategy Map สำนักส่งเสริมและจัดการสินค้าเกษตร ปีงบประมาณ พ.ศ.2553
สถาบันวิจัยนโยบายเศรษฐกิจการคลัง กุมภาพันธ์ 2549
OIE: OFFICE OF INDUSTRIAL ECONOMICS
เคลื่อนทัพส่งออก : มุมมองใหม่ โดย ดร. ณรงค์ชัย อัครเศรณี
แผนความร่วมมือระหว่างประเทศ
ประเทศสมาชิกอาเซียน.
โดย...นายประเสริฐ ดอยลอม หัวหน้ากลุ่มยุทธศาสตร์และสารสนเทศ
“AEC : อนาคต พืช ผัก ผลไม้ไทย”
ทิศทางการพัฒนาการเกษตรไทย
รองเลขาธิการคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ
การพัฒนาระบบวิจัยของประเทศ และการจัดทำนโยบายและยุทธศาสตร์
สรุปการประชุมระดมความคิด
การนำเสนอ หัวข้อ “ตอบโจทย์อุตสาหกรรมด้วยวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม มุ่งสู่ตลาดโลก” วันศุกร์ที่ 22 กุมภาพันธ์ 2556 ณ ห้องแกรนด์บอลรูม โรงแรมรามาการ์เด้นส์
รองอธิบดีกรมการพัฒนาชุมชน
ความร่วมมือไทย-ลาว ในเรื่อง Contract Farming (CF)
โดย อธิบดีกรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ (นางสาวชุติมา บุณยประภัศร) มิถุนายน 2551 ณ โรงแรมริชมอนด์ จ.นนทบุรี การประชุมเชิงปฏิบัติการเสริมสร้างสมรรถนะ.
ถอดบทเรียน ยุทธศาสตร์การค้าอาเซียน
เรื่องที่นักส่งเสริมการเกษตรควรรู้
หน่วยที่ ๗ แนวโน้มสังคมไทย และแนวทางเลือก.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

แนวทางรองรับผลจาก ASEAN-CER (ASEAN-Australia-New Zealand FTA) โดย คุณเจน นำชัยศิริ รองเลขาธิการสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย

ความเป็นมา ความตกลงการค้าเสรีอาเซียน-ออสเตรเลีย-นิวซีแลนด์ นั้น อยู่บนพื้นฐานความตกลงการค้าเสรีไทย-ออสเตรเลีย และไทย-นิวซีแลนด์ คาดว่าจะแล้วเสร็จภายในปี พ.ศ. 2551 นี้

การค้าระหว่างประเทศของไทย กับ ออสเตรเลีย ระหว่างปี 2547-2550

การนำเข้าส่งออกไทย-ออสเตรเลีย 2547-2550

การส่งออกไปยังออสเตรเลีย

การนำเข้าจากออสเตรเลีย

มูลค่าการค้าไทย-นิวซีแลนด์ 2547-2550

การนำเข้า-ส่งออกไทย-นิวซีแลนด์ 2547-2550

การส่งออกไปยังนิวซีแลนด์

การนำเข้าจากนิวซีแลนด์

การดำเนินนโยบายเชิงรุก การปรับแนวคิดเป็นสิ่งที่สำคัญที่สุด กล่าวคือ ต้องมองทั้งในมิติของประเทศไทย และมิติอาเซียนไปพร้อมๆ กัน เพราะแนวโน้มความตกลงการค้าเสรีจะเป็นระหว่างภูมิภาคต่อภูมิภาคเพิ่มขึ้น ต้องเปรียบเทียบกับความตกลงที่อาเซียนทำไว้กับประเทศอื่นๆ ด้วย เช่น จีน ญี่ปุ่น และเกาหลี เกิดจากการประสานงานระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้องอย่างใกล้ชิด

การดำเนินนโยบายเชิงรุก (ต่อ) การศึกษาและใช้ประโยชน์จากความตกลง เป็นสิ่งสำคัญ เช่น ความตกลงการค้าเสรีอาเซียน-ออสเตรเลีย-นิวซีแลนด์ มีข้อบทที่ว่าด้วยความร่วมมือทางเศรษฐกิจ ซึงอาจเป็นช่องทางสำหรับการถ่ายทอดเทคโนโลยีจากออสเตรเลีย และนิวซีแลนด์มายังกลุ่มประเทศอาเซียน เช่น ในเรื่องมาตรฐานสินค้า เป็นต้น

การดำเนินนโยบายเชิงรุก (ต่อ) การสร้างมาจรฐานเดียวกันทั้งสินค้าส่งออก และสินค้าภายในประเทศจะเป็นการแก้ปัญหาในระยะยาวที่ยั่งยืน ด้วยความตกลงการค้าเสรีในอนาคตจะมีลักษณะเป็นแบบภูมิภาคต่อภูมิภาคเพิ่มขึ้น ดังนั้น การสร้างมาตรฐานอาเซียน จึงเป็นแนวทางที่ต้องเร่งดำเนินการเพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขัน

การดำเนินนโยบายเชิงรุก (ต่อ) ดังที่กล่าวมาแล้วว่าการค้าเสรีนั้น จะมีลักษณะเป็นระหว่างภูมิภาคต่อภูมิภาคเพิ่มขึ้น ดังนั้น การสร้างพันธมิตร หรือสร้างความเป็นปึกแผ่น เพื่อเพิ่มอำนาจการต่อรอง เป็นสิ่งที่ต้องเร่งดำเนินการ การรวมกลุ่มในนามสภาอุตสาหกรรมฯ สภาหอการค้าฯ สมาคมธนาคาร ซึ่งจะนำไปสู่คณะกรรมการร่วมฯ (กกร.) และพัฒนาไปสู่ความร่วมมือระหว่างภาครัฐและเอกชนในนาม กรอ. ในส่วนของภาคเอกชนอาเซียนมี สภาหอการค้าและอุตสาหกรรมอาเซียน (ASEAN-CCI) และสภาที่ปรึกษาธุรกิจอาเซียน (ASEAN-BAC) จะเป็นองค์กรที่สำคัญที่ผลักดันประเด็นต่างๆ สู่การประชุมระดับสูงของรัฐบาลอาเซียน

สรุป การเตรียมการรองรับผลกระทบความตกลงการค้าเสรี และการดำเนินนโยบายเชิงรุก นั้น จะต้องทำในลักษณะหลายมิติ (Level of Analysis) กล่าวคือ จะต้องดำเนินการทั้งในมิติของประเทศไทย และมิติของอาเซียน ซึ่งจะต้องดำเนินการร่วมกันทั้งภาครัฐ และเอกชน สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทยมีการจัดตั้งคณะกรรมการเขตการค้าเสรีอาเซียน เพื่อดูแลรับผิดชอบในเรื่องนี้ เพื่อจะได้เห็นภาพรวมของความตกลงการค้าเสรีอาเซียนทั้งหมด

ขอบคุณครับ