ศักยภาพอุตสาหกรรมส่งออกไทย ... ช่องทางและโอกาสในการแข่งขัน

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
คณิตคิดเร็วโดยใช้นิ้วมือ
Advertisements

แผนนำทางส่งออกไทย: โอกาสใหม่ในความท้าทาย
งานกลุ่มส่งเสริมและพัฒนาการบริหารการจัดการฯ
ที่ โรงเรียน เฉลี่ย 1 บ้านหนองหว้า บ้านสะเดาหวาน
พลังงานในกระบวนการทางความร้อน : กฎข้อที่หนึ่งของอุณหพลศาสตร์
การซ้อนทับกัน และคลื่นนิ่ง
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (ASEAN Economic Community: AEC)
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน : ก้าวใหม่ที่ท้าทาย หรือ ความฝันที่ไกลเกินจริง
“สถานการณ์การเงินที่อยู่อาศัย”
ประเทศไทยได้ประโยชน์และเสียประโยชน์อะไรจาก (AFTA)
นายบัณฑิตย์ ศรีพุทธางกูร สำนักบริหารงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน
ดร.อัศนีย์ รัตนมาลัย โดย อดีต : ผู้อำนวยการสถาบันยุทธศาสตร์การค้า
โดย ณรงค์ชัย อัครเศรณี, Ph.D.
มิติที่ 1 มิติด้านประสิทธิผลตามแผนปฏิบัติราชการ
เปรียบเทียบจำนวนประชากรทั้งหมดจากฐาน DBPop Original กับจำนวนประชากรทั้งหมดที่จังหวัดถือเป็นเป้าหมาย จำนวน (คน) 98.08% % จังหวัด.
ต้นทุน(บาท/กิโลกรัม)
สัดส่วนของการส่งออก/GDP
การเลื่อนเงินเดือนข้าราชการ
สำเร็จการศึกษาในเวลา 4 ปี
จำนวนนับใดๆ ที่หารจำนวนนับที่กำหนดให้ได้ลงตัว เรียกว่า ตัวประกอบของจำนวนนับ จำนวนนับ สามารถเรียกอีกอย่างว่า จำนวนเต็มบวก หรือจำนวนธรรมชาติ ซึ่งเราสามารถนำจำนวนนับเหล่านี้มา.
ภาวะเศรษฐกิจการเกษตรของไทย
การขอเบิกเงินนอกงบประมาณ
เศรษฐกิจบนพื้นฐานความคิดสร้างสรรค์ (Creative Economy)
ความรู้พื้นฐานการเชื่อมโยงเครือข่าย
งานกลุ่มส่งเสริมและพัฒนาการบริหารการจัดการฯ
ดร. นิลสุวรรณ ลีลารัศมี
ยุทธศาสตร์ของไทยต่อการรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจในระดับภูมิภาคและทวิภาคี
เรื่อง ความรู้เกี่ยวกับการจัดเก็บภาษีสุรา
อุตสาหกรรมเด่นของไทย มูลค่าส่งออก (ล้านบาท)
ปฏิญญาการศึกษา: รากฐานประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน
ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับ กองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง
ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับมาตรการ การตรึงราคา/กำหนดระดับราคาน้ำมัน
สำนักงานสถิติแห่งชาติ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชน ที่มีต่อการบริหารงานของรัฐบาล
ฝ สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชน / ผู้ประกอบการ
สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับ กองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง พ.ศ สำนักงานสถิติแห่งชาติกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สิงหาคม.
ความตกลงหุ้นส่วนเศรษฐกิจอาเซียน-ญี่ปุ่น
กำลังการผลิตไฟฟ้า ตัวเลขปี 2542.
สถานการณ์ ด้านพลังงานของโลก
ข้อมูลเศรษฐกิจการค้า
เหลียวหลัง / แลหน้า ASEAN - AEC
การดำเนินงานตามแผนปฏิบัติการ โครงการที่ได้รับ
การดำเนินงานตามแผนปฏิบัติการ โครงการที่ได้รับ
ภาพรวมเศรษฐกิจไทยล่าสุด (ณ เดือนตุลาคม) และแนวโน้มไตรมาส 3/50 และ 4/50
ภาวะอุตสาหกรรม เครื่องใช้ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน : ความฝันที่ไกลและไปไม่ถึง?
เขตการค้าเสรี ไทย-อินเดีย
ความตกลงการค้าเสรีไทย-ออสเตรเลีย
การค้าการเงินโลกยุคใหม่ AEC และเศรษฐกิจประเทศไทย
น.สพ.ไพรัช ธิติศักดิ์ 27 มกราคม 2553
สถาบันวิจัยนโยบายเศรษฐกิจการคลัง กุมภาพันธ์ 2549
เคลื่อนทัพส่งออก : มุมมองใหม่ โดย ดร. ณรงค์ชัย อัครเศรณี
การบริหารเศรษฐกิจ ภาคการผลิต การค้า และการลงทุน โดย ดร. ณรงค์ชัย อัครเศรณี ที่ปรึกษากิตติมศักดิ์สถาบันวิจัยนโยบายเศรษฐกิจการคลัง วันพฤหัสบดีที่ 20 ธันวาคม.
บทที่ 8 นโยบายการค้าระหว่างประเทศ
ขับเคลื่อนเศรษฐกิจไทย ภายใต้วิกฤติการเมือง
ทิศทางเศรษฐกิจไทยภายใต้ความไม่แน่นอนปี 2554
เดือนเด่น นิคมบริรักษ์ สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย
อนาคตเศรษฐกิจประเทศไทย
ยุทธศาสตร์กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
สรุปผลสัมฤทธิ์ปีการศึกษา 2552 ชั้ น จำนว นสาระการเรียนรู้ นักเรี ยนทค ค. เพิ่มวสพ.พ. ศ.ศ. ดน ตรีง.ง. คอ ม. อ อ. เพิ่ม ป.1ป
มูลค่าคำขอรับการส่งเสริมในเดือน ม. ค. 56 เพิ่มขึ้น 2 %
ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน
สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชน
สถานการณ์ โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา กุมภาพันธ์ 2554 งานระบาดวิทยา งานระบาดวิทยา สำนักงานสาธารณสุขอำเภอเมืองลำปาง.
สถานการณ์ โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา มิถุนายน 2554 งานระบาดวิทยา งานระบาดวิทยา สำนักงานสาธารณสุขอำเภอเมืองลำปาง.
เรื่องที่นักส่งเสริมการเกษตรควรรู้
ผลการประเมิน คุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปีการศึกษา
หน่วยที่ ๗ แนวโน้มสังคมไทย และแนวทางเลือก.
แผนภูมิแสดงแผนและผลการใช้จ่ายงบประมาณปี 2549 การใช้ จ่าย ( สะสม ) ต.ค.ต.ค. พ.ย.พ.ย. ธ.ค.ธ.ค. ม.ค.ม.ค. ก.พ.ก.พ. มี. ค. เม. ย. พ.ค.พ.ค. มิ. ย. ก.ค. ก.ค.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ศักยภาพอุตสาหกรรมส่งออกไทย ... ช่องทางและโอกาสในการแข่งขัน ศักยภาพอุตสาหกรรมส่งออกไทย ... ช่องทางและโอกาสในการแข่งขัน ดร.ณรงค์ชัย อัครเศรณี ธนาคารเพื่อการส่งออกและนำเข้าแห่งประเทศไทย บริษัทหลักทรัพย์จัดการกองทุน เอ็มเอฟซี จำกัด (มหาชน) สถาบันวิจัยนโยบายเศรษฐกิจการคลัง การสัมมนาเรื่อง “ฝ่าวิกฤติ ... ปรับกลยุทธ์ รับมือการส่งออกไทย ปี 2008” วันที่ 28 พฤศจิกายน 2550 ณ ห้องมัฆวานรังสรรค์ สโมสรกองทัพบก กรุงเทพฯ

OUTLINE ความสำคัญของการส่งออก การส่งออกและการแข่งขันของไทย ในตลาดโลก ปัจจัยกระทบความสามารถในการ แข่งขัน ช่องทางและโอกาสในการแข่งขัน

I. ความสำคัญของการส่งออก สัดส่วนต่อ GDP เพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง Source : NESDB

I. ความสำคัญของการส่งออก (ต่อ) เป็นกลไกหลักในการผลักดันการขยายตัวของเศรษฐกิจ โดยเฉพาะในปี 2006 -2007 Contribution to GDP Growth 2006p 2007p % Q1 Q2 Q3 Q4 GDP 5.0 6.0 5.3 4.6 4.2 4.4 Private Consumption 1.7 2.1 1.9 1.5 1.3 0.7 0.5 Govt. Consumption 0.3 0.6 -0.3 1.0 Investment 0.9 0.8 0.0 Change in Inventories -2.8 -6.1 -5.0 1.4 -1.3 -1.5 Net Exports 4.8 7.8 6.9 4.1 2.5 Exports of G&S 5.7 8.9 5.9 3.4 Imports of G&S 1.1 -1.0 2.9 0.1 Source : NESDB

II. การส่งออกและการแข่งขันของไทยในตลาดโลก สัดส่วนสินค้าออกของไทยในตลาดโลก – จากร้อยละ 0.32 ในปี 1980 เพิ่มเป็นร้อยละ 1.08 ในปี 2006 ส่วนแบ่งตลาดของสินค้าไทยในตลาดโลก Source: WTO

II. การส่งออกและการแข่งขันของไทยในตลาดโลก (ต่อ) ตลาดส่งออกของไทย --- จากตลาดหลัก คือ US, EU (15), ญี่ปุ่น และ อาเซียน (5) กระจายไปตลาดใหม่ เช่น จีน, อินเดีย, ตะวันออกกลาง, แอฟริกาใต้ และอินโดจีนมากขึ้น สัดส่วนส่งออกไปตลาดหลักและตลาดใหม่ สัดส่วน อัตราการ 1995 2007 (ม.ค.-ก.ย.) ขยายตัว - 07 จีน 2.9 9.5 27.0 อินเดีย 0.5 1.8 60.5 แอฟริกาใต้ 0.4 0.8 15.3 อินโดจีน (CLMV) 2.7 5.1 17.3 ตะวันออกกลาง 4.5 35.3 1995 2007 (ม.ค. – ก.ย.) Source: BOT

II. การส่งออกและการแข่งขันของไทยในตลาดโลก (ต่อ) สินค้าส่งออก --- ภาคเกษตรลดความสำคัญเป็นลำดับ ขณะที่สินค้าไฮเทคมีสัดส่วนเพิ่มขึ้น สัดส่วน 2007 (ม.ค. – ก.ย.) ภาคการผลิต 1995 (ม.ค.– ก.ย.) มูลค่า (ล้าน USD) อัตราการขยายตัว เกษตรกรรม +ประมง +เหมืองแร่ + ป่าไม้ 16.9 10.7 11,888 9.4 อุตสาหกรรม 82.0 88.2 97,580 17.4 แรงงานเข้มข้น 19.8 8.5 9,357 13.5 ไฮเทค 46.5 64.2 71,042 16.3 ทรัพยากรเข้มข้น 11.4 10.4 11,480 22.1 อื่นๆ 4.4 5.2 5,701 30.8 สินค้าอื่นๆ 1.1 1,132 -15.3 รวม 100.0 110,600 16.1 Source: BOT

II. การส่งออกและการแข่งขันของไทยในตลาดโลก (ต่อ) ความสามารถในการแข่งขัน --- อันดับตกลง แพ้คู่แข่งอย่างมาเลเซีย และกำลังถูกทิ้งห่างจากประเทศหน้าใหม่เช่น จีน และ อินเดีย อันดับความสามารถในการแข่งขันของไทยโดยรวม 2003 2004 2005 2006 2007 สิงคโปร์ 4 2 3 จีน 27 22 29 18 15 มาเลเซีย 21 16 26 23 อินเดีย 42 30 33 ไทย 28 25 ฟิลิปปินส์ 41 43 40 45 อินโดนีเซีย 49 50 52 54 จำนวนประเทศ 51 53 55 ที่มา : IMD World Competitiveness Yearbook 2007

II. การส่งออกและการแข่งขันของไทยในตลาดโลก (ต่อ) ปัจจัยแข่งขันในด้านโครงสร้างพื้นฐานล้าหลัง โดยเฉพาะด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี อันดับความสามารถในการแข่งขันของไทยในด้านต่างๆ 2003 2004 2005 2006 2007 Economic performance 13 9 7 19 15 Government efficiency 18 20 14 27 Business efficiency 25 21 34 Infrastructure 43 42 39 48 จำนวนประเทศ 51 53 55 ที่มา : IMD World Competitiveness Yearbook 2007

III. ปัจจัยกระทบความสามารถในการแข่งขัน การสร้างเครือข่ายและพันธมิตรทางการค้าอย่างกว้างขวางผ่านการรวมกลุ่มและ FTA กฎกติกาการค้าโลกเปลี่ยนแปลง คู่แข่งใหม่เข้าสู่ตลาดโลกมากขึ้น ธุรกิจไทย ราคาพลังงานสูงขึ้นและผันผวน การค้าบริการเริ่มแทนที่การค้าสินค้ามากขึ้น อัตราแลกเปลี่ยนที่เปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว เทคโนโลยีที่เปลี่ยนแปลงแบบก้าวกระโดด

III. ปัจจัยกระทบความสามารถในการแข่งขัน (ต่อ) การเข้าสู่ตลาดโลกของประเทศหน้าใหม่ ประเทศกำลังพัฒนามีบทบาทมากขึ้นโดยเฉพาะตลาดเกิดใหม่ เช่น BRIC Source: WTO Notes: * = China + HK + Taiwan ** = Brazil + Russia + India 1990 2006 US 11.4% Japan 8.3% Europe 48.9% Greater China* 6.1% BRI ** 3.1% ASEAN 4.2% US 8.6% Japan 5.4% Europe 41.1% Greater China* 12.6% BRI ** 4.6% ASEAN 6.4%

III. ปัจจัยกระทบความสามารถในการแข่งขัน (ต่อ) เศรษฐกิจประเทศเข้าตลาดโลกใหม่เติบโตในอัตราสูง อัตราการขยายตัว (%) 2005 2006 2007f 2008f โลก 4.8 5.4 5.2 สหรัฐฯ 3.1 2.9 1.9 EU 2.0 3.2 3.0 2.5 ญี่ปุ่น 2.2 1.7 จีน 10.4 11.1 11.5 10.0 อินเดีย 9.0 9.7 8.9 8.4 เวียดนาม 8.2 8.3 สหรัฐอาหรับฯ 9.4 7.7 6.6 รัสเซีย 6.4 6.7 7.0 6.5 Source : IMF World Economic Outlook, October 2007

Top 6 destinations for FDI in 2007-2009* III. ปัจจัยกระทบความสามารถในการแข่งขัน (ต่อ) ตลาดใหม่ได้เปรียบด้านต้นทุนการผลิต เป็นที่หมายตาของนักลงทุนต่างชาติ FDI Inflows Avg. Growth in 2005 - 2006 เอเชียใต้ 77.8% อินเดีย 84.3% อาเซียน 20.9% เวียดนาม 20.0% กัมพูชา 108.8% สปป.ลาว 316.3% ยุโรปตะวันออก 35.3% รัสเซีย 53.9% แอฟริกา 42.2% Top 6 destinations for FDI in 2007-2009* จีน 52% อินเดีย 41% สหรัฐอเมริกา 35% รัสเซีย 21% บราซิล 13% เวียดนาม 12% * = % of respondent companies that listed each of the countries as one of top 5 FDI locations Source: World Investment Prospects Survey 2007-2009, UNCTAD

III. ปัจจัยกระทบความสามารถในการแข่งขัน (ต่อ) กติกาการค้าโลกมีการเปลี่ยนแปลง -- GATT / WTO 1993 --- การเจรจา GATT รอบอุรุกวัยสิ้นสุด ซึ่งส่วนใหญ่เป็นการเจรจาในการค้าสินค้าอุตสาหกรรม 1995 --- จัดตั้ง WTO ขยายขอบเขตการเจรจาการค้าครอบคลุมสินค้าเกษตรและบริการ 2001 --- เริ่มการเจรจารอบใหญ่ที่ Doha โดยประเทศพัฒนายอมให้มีการเจรจาเรื่องการอุดหนุนสินค้าเกษตร ส่วนภาคบริการให้ค่อยเป็นค่อยไป และเน้นเรื่องทรัพย์สินทางปัญญา ปัจจุบัน Doha Round ยังไม่ได้ข้อสรุป ยังคงเจรจาเรื่องการลดการอุดหนุนสินค้าเกษตร (สหรัฐฯ EU) กับการลดภาษีนำเข้าสินค้าอุตสาหกรรม (บราซิล อินเดีย)

III. ปัจจัยกระทบความสามารถในการแข่งขัน (ต่อ) ภาษีสินค้าอุตสาหกรรมลดไปมากแล้ว แต่มีมาตรการทางการค้าที่ไม่ใช่ภาษี ผุดขึ้นอย่างต่อเนื่อง GMP GAP HACCP มาตรการด้านสุขอนามัย WEEE & RoHS REACH มาตรการเกี่ยวกับโลกร้อน Eco-label EIA มาตรการด้านสิ่งแวดล้อม มาตรการด้านแรงงาน และสังคม SA 8000 - WRAP - Child Labor Protection

III. ปัจจัยกระทบความสามารถในการแข่งขัน (ต่อ) การสร้างเครือข่ายและพันธมิตรทางการค้าอย่างกว้างขวางผ่านการรวมกลุ่มและ FTAs ยุโรป ---- European Union (EU) เริ่มในปี 1967 ขยายตัวเป็นลำดับ ปัจจุบันมี 27 ประเทศ กำลังพิจารณาเพิ่มอีก 3 – 6 ประเทศ อเมริกา --- มี NAFTA ที่เริ่มในปี 1993 และในปี 1994 ริเริ่ม Free Trade Area of the Americas (FTAA) ถ้าสำเร็จจะครอบคลุมถึง 34 ประเทศในทวีปอเมริกา เอเชีย --- ASEAN, SAPTA, EAEC etc… 1967 --- ASEAN, AFTA ในปี 1992 1995 --- SAPTA รวม 7 ประเทศในเอเชียใต้ 1998 --- Pan-Arab Free Trade Area มี 16 ประทศ 1999 --- ริเริ่มการรวมกลุ่มในเอเชียตะวันออก

III. ปัจจัยกระทบความสามารถในการแข่งขัน (ต่อ) WTO คาดว่าภายในปี 2010 จะมีข้อตกลงการค้าระหว่างกันในโลกถึง 400 ข้อตกลง และมากกว่า 90% เป็น FTA ที่เหลือเป็น Custom Unions ที่มา : WTO

III. ปัจจัยกระทบความสามารถในการแข่งขัน (ต่อ) การค้าบริการมีบทบาทเพิ่มขึ้น --- ประเทศต่างๆ หันมาสร้างรายได้จากการค้าบริการแทนการค้าสินค้า ไทย ...aims to be Regional Financial Hub, Tourism Hub, Spa Treatment Hub, Healthcare Hub, etc. อินเดีย Call Center Hub, Software/IT Hub สิงคโปร์ Medical Hub, Logistics Hub, Tourism Hub

III. ปัจจัยกระทบความสามารถในการแข่งขัน (ต่อ) เทคโนโลยีที่เปลี่ยนแปลงแบบก้าวกระโดด + เทคโนโลยีคลื่นลูกใหม่ การทำธุรกิจ เทคโนโลยี ชีวภาพ พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ ข้อมูล การคิดคำนวณ/ประมวลผล หน่วยความจำ ทุกคน ทุกที่ ทุกเวลา เทคโนโลยี ไร้สาย สมาร์ทการ์ด บทบาทของดาวเทียม Source: The impact of innovation, Technology Pioneers 2003, APAX Partners

III. ปัจจัยกระทบความสามารถในการแข่งขัน (ต่อ) ความผันผวนของระบบการเงินโลกและอัตราแลกเปลี่ยน ปัญหาสินเชื่อ Sub-prime ทำให้ระบบการเงินโลกปั่นป่วน เงินดอลลาร์สหรัฐฯ อ่อนตัวลงมากกับเงินหลายสกุล โดยเฉพาะเมื่อเทียบกับเงินบาท เงินบาทแข็งค่าขึ้นมากกับ USD ตั้งแต่กลางปี 2005

III. ปัจจัยกระทบความสามารถในการแข่งขัน (ต่อ) ราคาพลังงานปรับตัวสูงขึ้นและผันผวน กระทบต้นทุนการผลิต เงินบาทแข็งค่าขึ้นมากกับ USD ตั้งแต่กลางปี 2005 Note: * Average weekly price Source: EIA, US

IV. ช่องทางและโอกาสในการแข่งขัน ภาคการเมืองและรัฐบาลใหม่ มีความไม่แน่นอนสูง ธุรกิจต้องพึ่งพาตนเองเป็นหลัก ปัจจัยสำคัญที่ต้องบริหารเพื่อให้การส่งออกแข่งขันได้ เข้าถึงการค้า/การผลิตของประเทศใหม่ ๆ ที่เข้าตลาดโลก ย้าย+ ขยายฐานการผลิตไปประเทศที่มีความได้เปรียบด้านการผลิต ปรับการผลิตให้ได้มาตรฐานที่คู่ค้ากำหนด เข้าระบบเครือข่ายการผลิต / การค้า ขยายไปภาคบริการ ใช้ ICT ในการทำธุรกิจ/ธุรกรรมให้ทันวิวัฒนาการของ ICT บริหารค่าเงินบาท ด้วยการร่วมมืออย่างใกล้ชิดกับธนาคาร บริหารต้นทุนพลังงานอย่างมีประสิทธิภาพ /ใช้พลังงานทดแทน