เครื่องพิมพ์ดีดไฟฟ้า

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
เรื่อง ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์
Advertisements

หลอดฟลูออเรสเซนต์ fluorescent
การงานอาชีพและเทคโนโลยี เรื่อง อุปกรณ์คอมพิวเตอร์
ใบความรู้ 3 ระบบคอมพิวเตอร์.
คอมพิวเตอร์.
Microsoft Word 2002 พุธทอง กาบบัวลอย.
สำรวจข้อมูลโรงงาน เพื่อปรับปรุงฐานข้อมูลโรงงาน
ความกระด้างทั้งหมดของน้ำ
บทที่ 4 สื่อบันทึกข้อมูล
และอุปกรณ์ที่เกี่ยวข้อง
Microsoft Word Part I Government Savings Bank Computer Trainging Í
การพิมพ์ข้อความ และการสร้างตาราง
การดูแลรักษาเครื่องวิทยุคมนาคม
คอมพิวเตอร์ เบื้องต้น เสนอ อ.ฐิตาพร ดวงเกตุ
วิธีดูธนบัตรปลอม จุดสังเกตในธนบัตรรัฐบาล.
เรื่อง เครื่องดูดฝุ่น
สวัสดีค่ะ.
ความปลอดภัยในการปฏิบัติงาน
6. เครื่องกราดตรง (scanner) เป็นอุปกรณ์ เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์ ที่มี หน้าที่ในการเปลี่ยนแปลงภาพ ต้นฉบับ รูปถ่าย ตัวอักษรบน หน้ากระดาษ.
ภาวะตัวเหลืองในทารกแรกเกิด
ตรวจพื้นที่ 5ส. ฝั่งคลินิคประกันสังคม
ข้อควรระวังในการใช้เครื่องวิทยุคมนาคม
เตารีด คือ เครื่องใช้ไฟฟ้าที่สามารถหยิบยกได้ ให้ความร้อนแผ่นฐานด้วยไฟฟ้าและใช้สำหรับรีดวัสดุสิ่งทอให้เรียบ ปัจจุบันมีการนำเอาสารเคลือบ เทฟลอนมาเคลือบแผ่นฐาน.
เตาไฟฟ้า.
เครื่องปั่นน้ำผลไม้.
เตาปิ้งย่างไฟฟ้า.
กระทะไฟฟ้า                .
เครื่องพรินเตอร์ Printer.
เครื่องดูดฝุ่น.
เตาไมโครเวฟ.
เครื่องซักผ้า.
เครื่องใช้ไฟฟ้า เครื่องโทรสาร, FAX
คอมพิวเตอร์.
หลอดไฟฟ้า.
เครื่องใช้ไฟฟ้า...ภายในบ้าน
เครื่องปิ้งขนมปัง.
เครื่องทำน้ำอุ่นไฟฟ้า
กระติกน้ำร้อนไฟฟ้า.
เครื่องถ่ายเอกสาร.
ลิฟต์.
เครื่องใช้ไฟฟ้าประเภท Notebook
พัดลม.
หม้อสุกี้ไฟฟ้า.
เครื่องม้วนผม.
ไดร์เป่าผม.
ผลิตเป็นเม็ดพลาสติกสี
โมดูล 3 การอนุรักษ์ทรัพยากรสารสนเทศ
เรื่อง การซ่อมคอมพิวเตอร์.
1.ใช้ถ่านไฟฉายที่สามารถบรรจุไฟได้ใหม่
ระบบปฏิบัติการ ( Operating System : OS )
นางสาวชุติมา อักขราภรณ์ ตอนB19
สรุปปัญหาของคอมพิวเตอร์ใน ชีวิตประจำวัน มีดังนี้.
สิ่งประดิษฐ์ตู้ส่องสภาพผ้าแบบประหยัด
รหัสวิชา บทที่ 4 การจัดรูปแบบเอกสาร.
เครื่องสำรองไฟฟ้า(UPS)
ความปลอดภัยในการทำงาน
หน่วยส่งออก หน่วยส่งออก คือ ผลลัพธ์ที่ได้จากการประมวลผลของคอมพิวเตอร์ ซึ่งอาจจะอยู่ในรูปของ อักขระ ข้อความ รูปภาพ เสียง หรือภาพเคลื่อนไหว ซึ่งคอมพิวเตอร์จะแสดงผลลัพธ์ผ่านอุปกรณ์ของหน่วย.
การแก้ไขปัญหาทั่วไป จัดทำโดย นายจักรี จิระกิตติวุฒิ เลขที่ 13 นายจิรายุส สมวงค์อินทร์ เลขที่ 14 นายชนาธิป สมฟอง เลขที่ 15 นายชาญณฤทธิ์ มโนปัญญา เลขที่
วิชา งานสีรถยนต์.
เครื่องลบอักษรบนตลับชิ้น เนื้อ เครื่องลบอักษรบนตลับชิ้น เนื้อ WungCom WungCom โดย นายรินด้า เบ็ญจะปัก ศัลยพยาธิวิทยา ภาควิชาพยาธิ วิทยา คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาล.
พื้นฐานพิมพ์ดีด โดย นางสุริยา พรรณราย.
มาตรการประหยัดพลังงาน
นางสาวจุไรรัตน์ เพิ่มสุข
ห้องมืด(Dark Room) ห้องที่ใช้ในการทำงานทาง photoใช้สำหรับ การล้างฟิล์ม และอัดขยายภาพห้องมืดใช้ป้องกันแสงเข้าไป ห้องมืด แบ่งเป็น 2 ประเภทคือ 1. ห้อง มืดสำหรับล้างฟิล์ม.
บทที่ สร้างงานเอกสารและการแก้ไข
การทำงานของระบบคอมพิวเตอร์
ปัญหาเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
หน่วยรับเข้า ทำหน้าที่รับข้อมูลจากผู้ใช้เข้าสู่หน่วยความจำหลัก ปัจจุบันมีสื่อต่าง ๆ ให้เลือกใช้ได้มากมาย แบ่งเป็นประเภทต่าง ๆ 1.แป้นพิมพ์ (Keyboard) 2.เมาส์
สื่อการสอนการเขียนเว็บเพจ ด้วยภาษา HTML
ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์
ใบสำเนางานนำเสนอ:

เครื่องพิมพ์ดีดไฟฟ้า

เครื่องพิมพ์ดีดไฟฟ้า เครื่องพิมพ์ดีดไฟฟ้าพัฒนามาจากเครื่องพิมพ์ดีดธรรมดา พิมพ์ได้ทั้ง ภาษาไทยและภาษาอังกฤษในเครื่องเดียวกัน มีประสิทธิภาพในการทำงานสูง เนื่องจากควบคุมด้วยระบบไมโครโปรเซสเซอร์ ตั้งแต่การแก้คำผิดอัตโนมัติ พิมพ์กึ่งกลาง ขีดเส้นใต้ มีระบบบันทึกรูปแบบการพิมพ์ได้หลายรูปแบบ ไม่ว่าจะ เป็นกั้นหน้าและกั้นหลัง ตั้งระยะจัดหลักเลข ฯลฯ และสามารถจัดเก็บข้อมูลใน หน่วยความจำภายในเครื่อง หรือจะเชื่อมต่อกับไมโครคอมพิวเตอร์ โดยเครื่อง พิมพ์ดีดจะทำหน้าที่เป็นทั้งคีย์บอร์ดและพริ้นเตอร์ในตัวเอง ขณะเดียวกันก็ สามารถออนไลน์ไปอีกแห่งได้

2. แผงนำตัวพิมพ์ หรือสเกลวัดตัวอักษร หรือระดับบรรทัด ส่วนประกอบต่างๆ ของเครื่องพิมพ์ดีดไฟฟ้า 2. แผงนำตัวพิมพ์ หรือสเกลวัดตัวอักษร หรือระดับบรรทัด 3.แท่นรับกระดาษ 4.ปุ่มลูกบิด 1. ก้านคลายกระดาษ 5. คานเว้นวรรค

ประเภทของวัสดุที่ใช้กับเครื่องพิมพ์ดีดไฟฟ้า 1. จานพิมพ์ดีด เครื่องพิมพ์ดีดไฟฟ้าจะต้องมีจานพิมพ์ภาษาไทยและ ภาษาอังกฤษ เพื่อใช้สับเปลี่ยนในการพิมพ์งาน โดยทั่วไปจานพิมพ์ดีดจะทำ ด้วยพลาสติกและมีขนาดมาตรฐานเดียวกัน 2. ตลับหมึกพิมพ์ สำหรับเครื่องพิมพ์ดีดไฟฟ้า แบ่งได้ 2 ประเภท คือ 1. ชนิดทำจากผ้า 2. ชนิดพลาสติกคาร์บอน

ชนิดทำจากผ้า ตลับหมึกพิมพ์ชนิดทำจากผ้ามีราคาถูก สามารถพิมพ์ดีดได้มากตามความ ต้องการ หรือพิมพ์จนกว่าผ้าหมึกจะซีดจาง แล้วจึงเปลี่ยนใหม่ก็ได้ เพราะแกน ผ้าหมึกจะหมุนกลับไปมา ทำให้สามารถพิมพ์ได้หลายครั้ง แต่มีข้อจำกัดคือ เวลาพิมพ์ผิดไม่สามารถใช้เทปลบคำผิดได้ ต้องใช้น้ำยาลบคำผิดหรือยางลบ แทน ทำให้งานที่พิมพ์ออกมาขาดความสวยงาม

ชนิดพลาสติกคาร์บอน ตลับหมึกพิมพ์ชนิดพลาสติกคาร์บอนจะมีราคาแพงกว่าตลับหมึกพิมพ์ที่ ทำจากผ้า และเมื่อใช้หมดแล้วไม่สามารถนำกลับมาใช้ได้อีก เนื่องจากเนื้อ พลาสติกคาร์บอนจะถูกพิมพ์ลงไปที่กระดาษ แต่มีข้อดีคือ งานที่พิมพ์ออกมา เป็นระเบียบเรียบร้อย สวยงาม ไม่เห็นรอยลบ เพราะเมื่อพิมพ์ผิดสามารถลบ คำผิดด้วยเทปลบคำผิดได้

3. เทปลบคำผิด เทปลบคำผิดเป็นวัสดุที่ใช้ลบตัวอักษรที่ใช้กับผ้าหมึกพิมพ์ชนิดพลาสติก คาร์บอน มี 2 ชนิด คือ 1. ชนิดดูดคำผิด จะมีแถบแสดงเป็นสีเหลือง ตัวเทปลบจะดูดหมึกพิมพ์ ตัวอักษรที่พิมพ์ผิดในกระดาษขึ้นมาทำให้ไม่เห็นรอยลบ งานที่พิมพ์จึงสะอาด เรียบร้อยและสวยงาม 2. ชนิดปิดคำผิด จะมีแถบแสดงเป็นสีฟ้า และมีราคาถูกกว่าชนิดดูดคำผิด แต่มีข้อเสียคือ งานพิมพ์ที่ลบด้วยเทปปิดคำผิดถ้าเก็บไว้นาน ๆ สีขาวที่ปิดทับ ตัวอักษรผิดนั้นจะหลุดออกมาทำให้มองเห็นคำผิดเดิม

วิธีการใช้เครื่องพิมพ์ดีดไฟฟ้า 1.ใส่จานพิมพ์ภาษาไทย ตั้งระบบภาษา โดยกดแป้น Code + ให้ ไฟ T/E ติด 2.ใส่จานพิมพ์ภาษาอังกฤษ ตั้งระบบภาษา โดยกดแป้น Code + ให้ไฟ T/E ดับ

การดูแลและบำรุงรักษาเครื่องพิมพ์ดีดไฟฟ้า 1. ศึกษาขั้นตอนและวิธีการใช้เครื่องแต่ละชนิดจากคู่มือการใช้เครื่อง 2. ถอดปลั๊กไฟออกทุกครั้งที่ทำความสะอาดเครื่อง 3.ใช้ผ้าแห้งสะอาดทำความสะอาดเครื่อง ห้ามใช้น้ำทินเนอร์ หรือแอลกอฮอล์ทำ ความสะอาดเครื่อง 4.วางเครื่องในสถานที่ที่มีอุณหภูมิที่เหมาะสม และป้องกันไม่ให้แสงแดดส่องถึง เครื่องโดยตรง 5. ระวังอย่าให้วัสดุที่เป็นโลหะหรือของเหลว เช่น คลิปหนีบกระดาษ ลวดเสียบ น้ำ ตกหล่นเข้าไปในเครื่อง เพราะจะทำให้เครื่องเสียหายได้

6. อย่าพิมพ์ดีดโดยไม่มีกระดาษพิมพ์ เพราะจะทำให้ลูกยางใหญ่และจานพิมพ์ ชำรุด 7. ระมัดระวังการใส่และถอดจานพิมพ์ ผ้าหมึกพิมพ์ เทปลบคำผิดให้ถูกต้อง เรียบร้อย 8. ควรมีผู้ใช้ประจำคนเดียวโดยมอบให้ดูแลรักษา และทำความสะอาดอย่าง สม่ำเสมอ 9. ปิดสวิตช์เครื่อง ถอดปลั๊ก และใช้ผ้าคลุมเครื่องทุกครั้งที่เลิกใช้งานเพื่อ ป้องกันฝุ่นละอองและความชื้น 10. อย่าแก้ไขซ่อมแซมเครื่องพิมพ์ดีดด้วยตนเอง ถ้ามีปัญหาควรเรียกช่าง ผู้ชำนาญมาซ่อมแก้ไข

นางสาวสุทธิณี เลิศวัลลภ จัดทำโดย นางสาวสุทธิณี เลิศวัลลภ ปวส. 2/1 การบัญชี เลขที่ 34