กลุ่มงานส่งเสริมสุขภาพ สสจ.อุดรธานี

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Medication reconciliation
Advertisements

การพัฒนาระบบการส่งต่อโรคเรื้อรังใกล้บ้านใกล้ใจ โรงพยาบาลท่ายาง อำเภอท่ายาง จังหวัดเพชรบุรี กฤษณา เปรมศรี 10 มกราคม
นำเสนอโดย นางสงวนศรี พลดอน พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ กลุ่มงานเวชกรรมสังคม โรงพยาบาลปัตตานี
นโยบายและงานเร่งด่วนของกระทรวงสาธารณสุข ปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๕๕
กายภาพบำบัด ใน โรงพยาบาลสร้างเสริมสุขภาพตำบล
การพัฒนาระบบส่งต่อ การดูแลสุขภาพเขตเมือง
จะต้องผ่านเกณฑ์ด้านการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุระยะยาวที่กำหนดไว้ทั้ง 4 ข้อ
บทเรียน Best Practice ของระบบการดูแลผู้สูงอายุระยะยาว
ตัวชี้วัด P4P ตัวชี้วัดที่2 : ร้อยละของผู้ที่อยู่ในภาวะพึ่งพิง(ติดเตียง)ได้รับการดูแล สุขภาพที่บ้าน(HHC) โดยบุคลากรสาธารณสุข เป้าหมาย ร้อยละ 80.
แนวคิด การดำเนินงาน โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
การควบคุมวัณโรคเขตเมือง
โครงการกรมการแพทย์ พัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ แบบเบ็ดเสร็จ ปี 2551
แนวนโยบายโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
หน้าที่กลุ่มงานส่งเสริมสุขภาพ ในศูนย์พักพิงผู้ประสบอุทกภัย
แนวทางการพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิและโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล เขต 5
การบริการวิกฤตสุขภาพจิตและการปฏิบัติงานทีม MCATTและบทบาทหน้าที่
โดย ทันตแพทย์หญิงภารณี ชวาลวุฒิ โรงพยาบาลสวนปรุง
การคัดกรองมะเร็งปากมดลูกในหญิงติดเชื้อ : ประสบการณ์โรงพยาบาลแม่ลาว Mae Lao hospital, Chiang Rai province, Thailand สุทธินีพรหมใจษา วราลักษ์ รัตนธรรม สุภาพรตันสุวรรณ.
สถานการณ์และการดำเนินงานดูแลเด็กติดเชื้อเอชไอวี
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ
นพ.วินัย ศรีสอาด สถาบันเวชศาสตร์ผู้สูงอายุ กรมการแพทย์
คลินิกผู้สูงอายุ อดีต ปัจจุบัน อนาคต
คณะทำงานกลุ่มที่ 1 ลำปาง เชียงราย อุตรดิตย์ ลำพูน พะเยา
กลุ่ม 3 โรงพยาบาลชุมชนที่มีแพทย์ดำเนินการ
กลุ่ม 4 รพช.( ไม่มีแพทย์ ดำเนินการ ) นำเสนอโดย นางสมรัก ชักชวน รพ. ตรอน จ. อุตรดิตถ์
การดำเนินงาน…ภาวะสมองเสื่อม โรงพยาบาลสุราษฎร์ธานี
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบล
รพสต. ความปลอดภัยผลิตภัณฑ์ พฤติกรรม การโฆษณา การบริโภค หลอกลวง
เขต 15 เขต 15: เชียงใหม่ ลำพูน ลำปาง แม่ฮ่องสอน.
ดร.นพ.พิทักษ์พล บุณยมาลิก ผู้อำนวยการสำนักนโยบายและยุทธศาสตร์
ภารกิจ อสม.งานประจำ/งานนโยบาย
นโยบาย ปฐมภูมิ ลดแออัด พัฒนาคุณภาพบริการ
แนวทางการดำเนินงานตามนโยบายสำคัญของกระทรวงสาธารณสุข
การป้องกันโรคไตแบบบูรณาการ
การขับเคลื่อนการดำเนินงานสุขภาพจิตชุมชน
บุคลากรของเรา นวก.สาธารณสุข 3 คน พยาบาลเวชปฏิบัติ 2 คน
ตัวชี้วัดงานอาชีวอนามัย ความสำเร็จการประเมินความเสี่ยงจากการทำงานของบุคลากรในโรงพยาบาล ปี 2555 ร้อยละของความสำเร็จ การประเมินความเสี่ยงจากการทำงานของบุคลากรในโรงพยาบาล.
คลินิกผู้สูงอายุต้นแบบ (Geriatric Clinic Model) โรงพยาบาลอุดรธานี
สรุปบทเรียนโครงการเอดส์ ด้าน CARE
คู่มือการดูแลทางจิตเวช เพื่อป้องกันปัญหาการฆ่าตัวตาย
ย.๔ พัฒนาระบบบริการสุขภาพวัยรุ่นในสถานบริการ
ส่งเสริมสัญจร.
แนวทางการดำเนินงานเกษตรกรปลอดโรค ปลอดภัย กายใจเป็นสุข
บทเรียนการดำเนินการให้บริการบำบัดผู้เสพยาสูบ แบบครบวงจร
โรงพยาบาลจิตเวชขอนแก่นราชนครินทร์
การจัดบริการสุขภาพ ผู้สูงอายุไทย
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
แนวทางการดำเนินงานผู้สูงอายุจังหวัดเชียงใหม่ ปี 2556
เพิ่มภาพ แผนที่ตำบล หรือภาพกิจกรรมชมรมสูงอายุในพื้นที่
โรงพยาบาลสรรพสิทธิประสงค์
องค์ประกอบและระยะเวลาที่ เปลี่ยนแปลง  จากมีวาระ 2 ปี เป็น 4 ปี  เพิ่ม ผู้แทนหน่วยรับเรื่องร้องเรียน อิสระ หรือศูนย์ประสานงานภาค ประชาชน หรือองค์กรเอกชนด้าน.
นิยาม ศูนย์ให้คำปรึกษาคุณภาพ (Psychosocial Clinic) หน่วยบริการระดับโรงพยาบาลชุมชนที่มีการจัดบริการดูแล ช่วยเหลือทางสังคมจิตใจทุกกลุ่มวัย โดยมีองค์ประกอบ.
การดำเนินงานสุขภาพจิตเครือข่าย ในเขตสุขภาพที่10 ปีงบประมาณ 2558
แผนฟื้นฟูผู้ประสพอุทกภัย โครงการสายใยรักแห่ง ครอบครัวในพระราชูปถัมภ์ สมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร.
การพัฒนางานสุขภาพจิต วัยทำงาน - สูงอายุ
ประกาศสัปดาห์คัดกรองผู้สูงอายุ
แนวทางการดำเนินงานสุขภาพจิต กลุ่มวัยทำงาน
สรุปประเด็น เรื่อง แนวคิดการจัดการรายกรณีเพื่อการดูแลต่อเนื่อง
กรอบการจัดทำแผนพัฒนาโรงพยาบาล ร้อยเอ็ด ประจำปี ๒๕๕๖ แนวคิด ปี ๒๕๕๖ ปีแห่งการวิเคราะห์และประเมิน ตนเองอย่างเข้มข้น วิเคราะห์เพื่อ พัฒนางาน ให้ได้ตาม มาตรฐาน.
ผู้สูงอายุ ผู้พิการ และผู้ด้อยโอกาส
การดำเนินงานดูแลผู้ป่วยต้อหิน จังหวัดร้อยเอ็ด 2011
ฉากทัศน์การจำลอง เหตุการณ์ กรณีโรคติดเชื้อไวรัสอีโบ ลา ฉากทัศน์ที่ ๑ พบผู้ป่วยสงสัยบน เครื่องบิน ฉากทัศน์ที่ ๒ พบผู้ป่วยสงสัยที่ด่าน ควบคุมโรคติดต่อ ระหว่างประเทศ.
นวัตกรรม7สี ปันรัก ไกลโรค ปี2556
คปสอ.เลิงนกทา เป็นองค์กรบริหารด้านสุขภาพที่มีประสิทธิภาพและโปร่งใส
สถานการณ์โรคติดต่อ อำเภอกำแพงแสน
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
คลินิกสุขภาพเด็กดีคุณภาพ
การพยาบาลเฉพาะทาง สาขา การพยาบาลผู้ป่วยโรคมะเร็ง
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
ใบสำเนางานนำเสนอ:

กลุ่มงานส่งเสริมสุขภาพ สสจ.อุดรธานี การดำเนินงานกลุ่มผู้สูงอายุ ขับเคลื่อนนโยบาย ลดโรค เพิ่มสุข สาธารณสุขร่วมใจเทิดไท้องค์ราชัน กลุ่มงานส่งเสริมสุขภาพ สสจ.อุดรธานี

ทางลาด รพ.บ้านผือ ปรับปรุงโครงสร้าง ห้องน้ำ ทางลาด ที่จอดรถ ป้ายประชาสัมพันธ์ ทางลาด รพ.บ้านผือ

ทางลาดรพ.ศรีธาตุ

ที่นั่งพักสำหรับผู้สูงอายุ(เบาหวาน)นั่งรับประทานอาหาร สมาธิบำบัด / ยืดเหยียดกล้ามเนื้อ

ห้องน้ำผู้สูงอายุและผู้พิการ รพ.ศรีธาตุ

ป้ายประชาสัมพันธ์คลินิกผู้สูงอายุ และ70ปีไม่มีคิว รพ.ไชยวาน รพ.กุมภวาปี รพ.บ้านผือ

ป้ายประชาสัมพันธ์ " เกิน 70 ปีไม่ต้องรอคิว ทำบัตรเข้าตรวจทันที " นโยบายรัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข

ที่จอดรถ

บริการ 70ปีไม่มีคิว จุดยื่นบัตรตรวจโรค ทุกจุดในรพ.(ห้องบัตร ห้องตรวจ ห้องยา) ตั้งแต่ 1 เมษายน 2555 จุดยื่นบัตรตรวจโรค

ขั้นตอนการทำบัตรและ บัตรทางด่วนผู้สูงอายุ

รพ.บ้านผือ คลินิกผู้สูงอายุ จุดซักประวัติ บัตรผู้สูงอายุ70 ปี

ขั้นตอนการตรวจคัดกรองและซักประวัติ คลินิกผู้สูงอายุ รพ.กุมภวาปี

ขั้นตอนการตรวจคัดกรองและซักประวัติ คลินิกผู้สูงอายุ รพ.ไชยวาน

แผนผังการให้บริการ “ผู้สูงอายุ 70 ปีขึ้นไปไม่มีคิว” งานผู้ป่วยนอก โรงพยาบาลบ้านผือ  จุดบริการโต๊ะคัดกรอง - ดูแลซักประวัติ วัด V/S ในกลุ่มผู้สูงอายุ 70 ปีขึ้นไปที่ยื่นบัตร ในตะกร้าสีเขียวเป็นกลุ่มแรก - แล้วแนะนำผู้ป่วยไปยื่นบัตรที่ตะกร้าสีเขียว ที่จุดบริการโต๊ะ 1  ประชาสัมพันธ์ - คัดกรองผู้ป่วยสูงอายุ 70 ปีขึ้นไป - แจกบัตรที่มีคำว่า “ผู้สูงอายุ 70 ปีขึ้นไป ไม่มีคิว” (บัตรสีเขียว) - แนะนำไปยื่นบัตรในตะกร้าสีเขียว ที่จุดบริการโต๊ะคัดกรอง  จุดบริการห้องบัตร - ห้องบัตรคัดแยกบัตรประจำตัวผู้ป่วยที่แนบบัตร “ผู้สูงอายุ 70 ปีขึ้นไปไม่มีคิว” ไปทำบัตรจากจุดบริการคัดกรอง - คัดแยกในกลุ่มผู้ป่วยกลุ่มนี้ไปทำบัตรตรวจโรค เป็นกลุ่มแรก - ทำบัตรตรวจโรคและปั๊มตรายาง “ผู้สูงอายุ 70 ปีขึ้นไปไม่มีคิว” ลงบนใบนำทาง และแยกนำส่งไปจุดบริการโต๊ะ 1  จุดบริการโต๊ะ 1 - รับบัตรตรวจโรค แยกบัตรกลุ่มผู้สูงอายุ 70 ปีขึ้นไป ลงบันทึกข้อมูลในระบบ Hosxp. ทันทีเมื่อรับบัตรตรวจโรคแล้ว - คัดแยกบัตรผู้ป่วยกลุ่มที่ส่งต่อไปรอตรวจกับแพทย์ ที่จุดบริการโต๊ะ 2  จุดบริการห้องยาเบอร์ 6 - ห้องยาคัดแยกใบนำทางที่มีปั๊มตรายาง “ผู้สูงอายุ 70 ปีขึ้นไป ไม่มีคิว” ให้บริการ จัด-จ่ายยา ในกลุ่มผู้รับบริการกลุ่มนี้ เป็นกลุ่มแรก จนกระทั่งรับยากลับบ้าน  จุดบริการโต๊ะ 2 - จัดช่องทางด่วนให้บริการเข้าตรวจเป็นกลุ่มแรก โดยจัดห้องตรวจ3 เป็นห้องให้บริการในกลุ่มผู้สูงอายุ 70 ปีขึ้นไป - หลังตรวจเสร็จ แยกใบนำทางให้ผู้ป่วยไปรับยา ที่จุดบริการ ห้องยาเบอร์ 6

ในชุมชน 2.1 สำรวจ คัดกรองสุขภาพกายและสุขภาพจิตผู้สูงอายุ แบบประเมินกิจวัตรประจำวันขั้นพื้นฐาน(ADL) ประเมินภาวะซึมเศร้าและประเมินภาวะสมองเสื่อม จำแนกกลุ่มตามศักยภาพ กลุ่มติดสังคม ติดบ้าน ติดเตียง ซึมเศร้าและแยกตัว ลงทะเบียน ติดตามเยี่ยมให้การดูแลต่อเนื่อง

2. 2 แจ้งหมายเลขโทรศัพท์ของเจ้าหน้าที่ รพสต 2.2 แจ้งหมายเลขโทรศัพท์ของเจ้าหน้าที่ รพสต.และแพทย์รพช/รพท ที่ดูแลเครือข่าย แก่ผู้สูงอายุ/ผู้ดูแลติดต่อในกรณีเร่งด่วนหรือขอคำปรึกษา 2.3 ดูแลสุขภาพกาย สุขภาพจิตผู้สูงอายุที่บ้านที่มีคุณภาพ(Home Heath Care) เพื่อติดตามและให้การดูแลต่อเนื่อง 2.4 บริการ 1669 นำส่งโรงพยาบาล มีการประสานรับ-ส่งผู้ป่วยผู้สูงอายุที่จำเป็นต้องเข้ารับการรักษาในโรงพยาบาล