การดำเนินงานแก้ไขปัญหา การเจ็บครรภ์คลอดก่อนกำหนด ห้องคลอด

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
นโยบายการให้บริการวัคซีนป้องกันโรค ไข้หวัดใหญ่ ประจำปี 2557
Advertisements

การพัฒนาระบบการส่งต่อโรคเรื้อรังใกล้บ้านใกล้ใจ โรงพยาบาลท่ายาง อำเภอท่ายาง จังหวัดเพชรบุรี กฤษณา เปรมศรี 10 มกราคม
การทำงานเชิงรุกและการส่งต่อ
สาขาทารกแรกเกิดและสูติกรรม
โครงการพัฒนาโรงพยาบาลราชบุรี บริการฉับไว ไร้ความแออัด
แนวทาง การดำเนินงานป้องกัน ควบคุมโรคเรื้อน จังหวัดอุดรธานี
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล คอนสาย-ค้อใหญ่
จะต้องผ่านเกณฑ์ด้านการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุระยะยาวที่กำหนดไว้ทั้ง 4 ข้อ
โครงการสายใยรักแห่งครอบครัว
โรงพยาบาลสายใยรัก แห่งครอบครัว
การพัฒนาอนามัยแม่และเด็ก
การให้การปรึกษาทางพันธุศาสตร์ ธาลัสซีเมีย
กลุ่มงานสูตินรีเวชกรรม โรงพยาบาลน่าน
ความคาดหวังหลังการประชุมฯ ครั้งนี้
การพัฒนา หน่วยบริการปฐมภูมิ
แนวทางการพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิและโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล เขต 5
การดูแลผู้ติดเชื้อและผู้ป่วยเอดส์ ด้วยโปรแกรม HIVQUAL-T
สรุปการวิเคราะห์ความสำเร็จและโอกาสพัฒนาในโครงการพัฒนาคุณภาพการดูแลผู้ติดเชื้อ/ผู้ป่วยเอดส์ ในภาพรวมของเขต 10 สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 10 เชียงใหม่
การบูรณาการงาน HIV CARE สู่งานพัฒนาคุณภาพ
การส่งเสริมวินัยการกินยาต้านไวรัสเอดส์
สถานการณ์และการดำเนินงานดูแลเด็กติดเชื้อเอชไอวี
กลุ่มงานเวชปฏิบัติครอบครัวและชุมชน
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
นพ.วินัย ศรีสอาด สถาบันเวชศาสตร์ผู้สูงอายุ กรมการแพทย์
คณะทำงานกลุ่มที่ 1 ลำปาง เชียงราย อุตรดิตย์ ลำพูน พะเยา
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบล
เขต 15 เขต 15: เชียงใหม่ ลำพูน ลำปาง แม่ฮ่องสอน.
สรุปการประชุม เขต 10.
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
การติดตามประเมินผล โครงการให้วัคซีนป้องกัน โรคไข้หวัดใหญ่
ประเด็นในการนำเสนอระบบข้อมูลสารสนเทศของ รพ.สต.
1. เสือปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
นโยบายการป้องกัน การถ่ายทอดเชื้อเอชไอวีจากแม่สู่ลูก สำหรับประเทศไทย พ
แนวทางการดำเนินงาน ส่งเสริม ป้องกันและควบคุมโรคธาลัสซีเมีย
บุคลากรของเรา นวก.สาธารณสุข 3 คน พยาบาลเวชปฏิบัติ 2 คน
สรุปบทเรียนโครงการแก้ไขปัญหาทารกแรกเกิดน้ำหนักน้อยกว่า 2,500 กรัม
ความคาดหวังกับรพ.สต.มิติใหม่ของการพัฒนางานสาธารณสุข
ทีมนำด้านการดูแลผู้ป่วย
วัยรุ่นมีพฤติกรรมที่เหมาะสม หญิงตั้งครรภ์มีพฤติกรรมที่เหมาะสม
มี อปท.สนับสนุนงบประมาณดำเนินงาน มี อปท. จัดกิจกรรมด้านสุขภาพ
ตัวชี้วัดงานอาชีวอนามัย ความสำเร็จการประเมินความเสี่ยงจากการทำงานของบุคลากรในโรงพยาบาล ปี 2555 ร้อยละของความสำเร็จ การประเมินความเสี่ยงจากการทำงานของบุคลากรในโรงพยาบาล.
คลินิกผู้สูงอายุต้นแบบ (Geriatric Clinic Model) โรงพยาบาลอุดรธานี
กลุ่มงานส่งเสริมสุขภาพ สสจ.อุดรธานี
นางวิมล นวลมี พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
การใช้ระบาดวิทยา เพื่อพัฒนาระบบเฝ้าระวังเหตุการณ์ในพื้นที่
แนวทางการดำเนินงาน กรมอนามัย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2554
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
โรงพยาบาลจิตเวชขอนแก่นราชนครินทร์
Point of care management Blood glucose meter
สิ่งที่ต้องทำต่อ 1.นำเสนอผลสำเร็จของนโยบาย ปี นำเสนอนโยบายปี 55 และตัวชี้วัด สำคัญ ตามใบงานที่ 7 8และ 9 ประธาน : นพ.สสจ. วันที่ 13 ก.ย.54 เวลา 13.00น.
วันที่ 1 กรกฎาคม 2557 ณ ห้องประชุมชั้น 7 โรงพยาบาลศูนย์อุดรธานี
โรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราชเดชอุดม
การดำเนินงานสุขภาพจิตเครือข่าย ในเขตสุขภาพที่10 ปีงบประมาณ 2558
สรุปผลงานโดยย่อ ทีมสหวิชาชีพ เป็นองค์รวม มีส่วนร่วม
ศูนย์ประสานงานการรับส่งต่อผู้ป่วย
สรุปผลการประเมิน ยุทธศาสตร์สุขภาพระดับตำบล อำเภอเรณูนคร ปี 2554
การพัฒนางานสุขภาพจิต วัยทำงาน - สูงอายุ
ร้อยละของของเด็กตั้งแต่แรกเกิด - 6 เดือน แรกมีค่าเฉลี่ยกินนมแม่อย่างเดียวมากกว่า หรือเท่ากับ 60.
โครงการลดภาวะแผลฝีเย็บแยก

กรอบการจัดทำแผนพัฒนาโรงพยาบาล ร้อยเอ็ด ประจำปี ๒๕๕๖ แนวคิด ปี ๒๕๕๖ ปีแห่งการวิเคราะห์และประเมิน ตนเองอย่างเข้มข้น วิเคราะห์เพื่อ พัฒนางาน ให้ได้ตาม มาตรฐาน.
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
โรงพยาบาลสายใยรักแห่งครอบครัว
การดูแลหญิงตั้งครรภ์แนวใหม่
เพลินพิศ เยาว์พรหมสิริ พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
Service plan สาขาทารกแรกเกิด จ.เลย
คลินิกสุขภาพเด็กดีคุณภาพ
การดูแลผู้ป่วยระยะยาว
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การดำเนินงานแก้ไขปัญหา การเจ็บครรภ์คลอดก่อนกำหนด ห้องคลอด การดำเนินงานแก้ไขปัญหา การเจ็บครรภ์คลอดก่อนกำหนด ห้องคลอด โดย นางธรรมวรรณ บูรณสรรค์ พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ

1.1 การให้ความรู้แก่หญิงตั้งครรภ์ 1. ระบบงาน 1.1 การให้ความรู้แก่หญิงตั้งครรภ์

1.2 ให้ความรู้เรื่องการเจ็บครรภ์คลอดก่อนกำหนด - อาการและอาการแสดงที่ต้องมาโรงพยาบาล - ผลเสียต่อแม่และทารกในครรภ์ - การรักษาของแพทย์ - ระยะเวลาในการนอนโรงพยาบาล - Individual Approach หนังยับยั้งคลอดครบตามเกณฑ์

1.3 ให้ความรู้ในการดูแลทารกแรกเกิดก่อนกำหนด

2. การเฝ้าระวัง 2.1 โดยการใช้แบบบันทึกการคลอดก่อนกำหนดของเครือข่ายร่วมกับจังหวัด 2.2 ทะเบียนหญิงตั้งครรภ์เสี่ยงจากแผนก ANC

3. การดูแลรักษายับยั้งคลอด 3.1 จัดทำแนวทางการดูแลแบบเครือข่าย

หญิงตั้งครรภ์ที่ Admit ด้วยภาวะคลอดก่อนกำหนด ในเวลาราชการ นอกเวลาราชการ พบแพทย์ที่แผนกผู้ป่วยนอกโดยระบบทางด่วน พบแพทย์ที่ห้องฉุกเฉินโดยระบบทางด่วน ปรึกษาสูติแพทย์ ปรึกษาสูติแพทย์ ส่งห้องคลอดเพื่อยับยั้งการคลอด ส่งห้องคลอดเพื่อยับยั้งการคลอด

แนวทางการดูแลภาวะเจ็บครรภ์คลอด ก่อนกำหนด ใช่ ไม่มี มี ปากมดลูก - เปิด > 2 ชม. - บาง 80 % รพสต. แพทย์ประเมิน รับไว้ใน รพ. มีน้ำเดินหรือไม่ ดูแลแบบน้ำคร่ำซึม Tocolytic Protocol ไม่ใช่ ยับยั้งการคลอดสำเร็จ คลอด นัดติดตามที่คลินิกครรภ์เสี่ยงสูง แนวทางการดูแลภาวะเจ็บครรภ์คลอด ก่อนกำหนด

3.2 มี Care Map for Preterm Labor ดูแลในห้องคลอด สื่อสารในสหสาขาวิชาชีพ

3.3 Care Map for Preterm Labor - Fetal Monitoring - Ultrasonography - BUN, Cr, Electrolyte, UA, CBC, BS - Terbutaline 5 amp in 5% DW 500ml. iv start 20ud/m ปรับยา 5ud/m ทุก 15-30 นาที จนกระทั่ง interval>10 นาทีและคงระดับน้ำยานั้นไว้ 24 ชั่วโมง - เปลี่ยนยาฉีด Terbutaline 1/2 amp ทุก 4hr.×6doses Feso 4 1×3 pc

3.3 Care Map for Preterm Labor (ต่อ) - Terbutaline(2.5) 2×4 pc - Amocy(500) 1×4 pc × 5 วัน - Homemedication, Terbutaline(2.5)pc×2, FeSO4 11 pc #30, vit C 1×3 pc - Pethidine 50 mg/im for Theraprutic - Dexamethasone (GA24-34 week)6 mg imทุก 12 hr.×4 doses

3.4 ดูแลยับยั้งคลอดโดย 3.4.1 ให้ Bricanyl 5 amp+5%DW 500 ml v drip tritrate จนไม่มี Contraction in 24 hr 3.4.2 Bricanyl 0.5 ml sc ทุก 4 hr

4.1 จัดทำแนวทางการส่งต่อแบบเครือข่าย MCH Board / Conference Case 4. ระบบการส่งต่อ 4.1 จัดทำแนวทางการส่งต่อแบบเครือข่าย MCH Board / Conference Case โรงพยาบาลหนองหาน โรงพยาบาลทุ่งฝน โรงพยาบาลไชยวาน โรงพยาบาลบ้านดุง โรงพยาบาลพิบูลย์รักษ์

4.2 การส่งต่อโรงพยาบาลอุดรธานี ส่งต่อโรงพยาบาลอุดรธานี แพทย์ประเมินน้ำหนักทารกในครรภ์น้อยกว่า 2,000 กรัม ให้การรักษาพยาบาลดูแลตามมาตรฐาน ส่งต่อโรงพยาบาลอุดรธานี

5. จัด Unit Preterm จัดสถานที่

6. จัดหาอุปกรณ์/เครื่องมือ

7. ติดตามดูแลต่อเนื่องในชุมชน

8. จัดทำระบบสารสนเทศเพื่อการสื่อสารกับ รพ. สต 8. จัดทำระบบสารสนเทศเพื่อการสื่อสารกับ รพ.สต./PCU ทางระบบ HOSxP และทางโทรศัพท์

ผลการดำเนินงาน

อัตรามารดาตาย เท่ากับ 0 อัตรามารดาตาย เท่ากับ 0

เกิดนวัตกรรมการดูแลมารดาและทารก

ปัจจัยแห่งความสำเร็จ 1. ผู้บริหารสนับสนุนการดำเนินงาน 2. มีทีมสูติแพทย์ กุมารแพทย์ให้การดูแล 3. บุคลากรมีการพัฒนาศักยภาพอย่างต่อเนื่อง 4. มีเครือข่ายการดูแลมารดาทารกระดับจังหวัด 5. สปสช. สนับสนุนด้านอุปกรณ์/เครื่องมือ

ปัญหา อุปสรรค 1. บุคลากรผู้รับผิดชอบงานมีจำนวนไม่เพียงพอต่อภาระงานที่เพิ่มขึ้น 2. Teen Age Pregnancy / Elderly Pregnancy 3. ไม่ฝากครรภ์, ฝากครรภ์ไม่ครบตามเกณฑ์ 4. ระบบสารสนเทศยังไม่เอื้อต่อการบันทึกและจัดเก็บข้อมูล 5. ระบบการส่งต่อทารกคลอดก่อนกำหนดที่ รพศ. ซับซ้อนยุ่งยาก 6. ระบบขอคำปรึกษากุมารแพทย์ รพศ. ซับซ้อนหลายขั้นตอน