Knowledge- Base Systems XML
Agents FRODO - เป็นการรวมกันของ - การพัฒนาการแก้ไขปัญหาความทรงจำ ขององค์กรและระบบเดิมขององค์กร ( ฐานข้อมูล ) ที่ทำแยกกัน - การวิเคราะห์เอกสารและการทำความ เข้าใจ - การกระจายการแก้ปัญหา
Agents - ขึ้นอยู่กับ - การแทนความรู้ที่เปิดเผย - agents/speech acts/protocols - การใช้งานอินเตอร์เน็ต : HTTP,XML,RDF,…
Agents Ontobroker เป็นการอนุมานระบบฐานข้อมูลเชิงวัตถุ นำมาใช้ในระบบความรู้ผ่านเว็บซึ่งทำ หน้าที่รวมงานวิจัย มีการทำงานร่วมกันของ ฐานข้อมูลและเว็บที่แตกต่างด้วย เทคโนโลยีระบบความรู้และ ontologies
Rules:HornML Horn Logic Markup Languages เป็นการแสดงภาษารูปแบบหนึ่งใน XML ซึ่งจะเป็น ลักษณะของเงื่อนไข โครงสร้างพื้นฐาน HornML คือ ข้อตกลงและเงื่อนไข ตัวแปร, ค่าคงที่
Rules:HornML โครงสร้างพื้นฐานที่ซับซ้อนของ HornML ตัวอย่างเช่น เงื่อนไขที่ 1 เงื่อนไขที่ 2 ตัวแปร, ค่าคงที่ เงื่อนไขที่ 3
Rules:HornML ตัวแปร, ค่าคงที่
Rules:HornML ความสัมพันธ์ของสัญลักษณ์และการประยุกต์ใช้ งาน - ความสัมพันธ์ของสัญลักษณ์ใน XML มีรูปแบบ คือ element เช่น ความสัมพันธ์ของ travel จะได้ travel เป็นต้น - การประยุกต์ใช้งานสัญลักษณ์มีรูปแบบคือ element
Rules:HornML ตัวอย่าง เช่น Application travel(john,channel-tunnel) travel john channel-tunnel
Rules:HornML ข้อเท็จจริง (Facts) ของ HornML Facts ใน HornML จะมีรูปแบบดังนี้ element that possesses elements as subelements
Rules:HornML ซึ่งสามารถเขียนเงื่อนไขข้อเท็จจริงคล้ายๆกับในภาษา Prolog ด้วยเช่น เงื่อนไข travel(john,channel-tunnel). จะเขียนได้ดังนี้ travel john channel-tunnel
Rules:HornML กฏ (Rules) ของ HornML Rules ใน HornML จะมีรูปแบบดังนี้ Element that has a head element followed by at least one body element ดังนั้นจึงสามารถเขียนได้ด้วยกฏของภาษา Prolog ได้ ด้วยเช่นกัน ดังนี้ travel(Someone,channel-tunnel) :- carry(eurostar,Someone).
Rules:HornML เขียนได้เป็น travel someone channel-tunnel carry eurostar someone
Rules:RFML RFML - เป็นตัวรวมความสัมพันธ์และหน้าที่ของความรู้ ที่นำเสนอมา และประกาศเป็นภาษาของการ เขียนโปรแกรมบน Web - จะมีการดำเนินการเป็นเสมือน (Web- )output syntax เพื่อใช้ในการประกาศ ฐานข้อมูลความรู้ และใช้ในการคำนวณด้วย - RFML stylesheets สำหรับ Prolog, Relfun, และภาษาการเขียนโปรแกรมอื่นๆ ยังคงอยู่ในระหว่างการพัฒนา
Rules:SHOE SHOE(Simple HTML Ontology Extensions) หน้าที่และคุณสมบัติของ SHOE - มีแนวคิดในการเรียงลำดับชั้นตรรกะเพื่อใช้กับวิชาที่เกี่ยวกับ คำศัพท์ (KL-One derivatives) - มีการสืบทอดหลายชั้น หลายแขนง - บอกถึงความสัมพันธ์ระหว่างแนวคิดที่หลากหลาย ( เช่น : หน้าที่ของ KL-One derivatives) - การอนุมานโดยใช้ กฏของ Horn-Clauses - การสืบทอดและการใช้งานของ ontology ที่มีอยู่ * โดยสรุป SHOE เป็นส่วนที่ใช้ในการขยายการใช้งานของ ontology ที่มีอยู่ให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น
Rules:SHOE ตัวอย่างการใช้กฎ SHOE <DEF-INFERENCE DESCRIPTION="travel(?someone, m/) if carry(
Rules:SHOE โดยสรุป SHOE เป็นส่วนที่ใช้ในการขยายการใช้งานของ ontology ที่มีอยู่ให้ มีประสิทธิภาพมากขึ้น
XOL:Frames Frames เป็นกรอบของ XML XOL - เป็นภาษาที่ใช้สำหรับระบุ ontology - เป็นภาษาที่ใช้สำหรับแลกเปลี่ยน ontology - สามารถใช้สำหรับการแลกเปลี่ยนฐานข้อมูล - เป็น syntax ของ XML
สมาชิกกลุ่ม นางสาวปิยพร บัวงาม ( หัวหน้ากลุ่ม ) นายกฤษติณ ดาวอรุณเกียรติ ( รองหัวหน้า กลุ่ม ) นายกฤษฎา อ่อนนุ่ม นางสาวขวัญฤดี เนียงภา นายอณัฐพร ครุฑธมงคล นายอรรถพล เตชะบุตรศรี นายยุทธรัฐ หงษ์ทองคำ นางสาววรัฏฐา สังข์แก้ว นายธนาวุฒิ คำพา นายชลธวัช ศรีศาลา มงคล ด่านปรีดา