A man’s dreams are an index to his greatness การสร้างและใช้ แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ การพัฒนาเด็กจังหวัดอุดรธานี มีโภชนาการสมวัย.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ตำบลนมแม่เพื่อสายใยรักแห่งครอบครัว
Advertisements

ยุทธศาสตร์การพัฒนาสุขภาพ จังหวัดตรัง ปี 2555 งานควบคุมโรคติดต่อ
ตำบลนมแม่ โมเดลการพัฒนาเด็กแบบองค์รวม
ความคาดหวัง/สิ่งที่อยากเห็น วัยรุ่นจังหวัดนครนายก
การประชุมเชิงปฏิบัติการ สร้างและใช้แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์
การประชุมเชิงปฏิบัติการ สร้างและใช้แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์
การดำเนินงานโรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน
การประชุมเชิงปฏิบัติการ สร้างและใช้แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์การพัฒนาอนามัยเจริญพันธุ์ในวัยรุ่น
การประชุมเชิงปฏิบัติการสร้างและใช้ แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์
C P L F KPI 1 เด็ก 0-5 ปี มีพัฒนาการสมวัย ร้อยละ 80 ครอบครัว เด็ก แม่
เล่าเรื่อง หัวใจแห่งความสำเร็จ การส่งเสริมสุขภาพ
ตามแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์(SRM) สู่การ ปฏิบัติการในพื้นที่
ประเด็นยุทธศาสตร์ กินร้อน ช้อนกลาง ล้างมือ ดื่มน้ำสะอาด
การส่งเสริมสุขภาพและการควบคุมป้องกันโรค ในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่
การมีส่วนร่วมของครอบครัวและชุมชน
โรงเรียน อสม.ตำบลหนองไม้แก่น
สวัสดีครับ.
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ภายในปี 2554 (ระยะ 4 ปี) เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2552 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) ประชาชน.
ผังจุดหมายปลายทางการพัฒนางานสร้างเสริมสุขภาพป้องกันโรค และ ภัยสุขภาพ ของจังหวัดในพื้นที่ สปสช.เขต 4 จังหวัดสระบุรี ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี)
ภ ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
ถอดบทเรียนความก้าวหน้า ในการนำแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ สู่การปฏิบัติ
ประชาชน ภาคี กระบวนการ พื้นฐาน
การประชุมเชิงปฏิบัติการใช้ค่ากลาง
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดต่อทั่วไป ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
การพัฒนาหลังจากมีการกำหนดค่ากลางของจังหวัด
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดเชื้อเฉียบพลันระบบหายใจในเด็ก ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน.
สำนักโรคติดต่ออุบัติใหม่
กำหนดเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553
แผนที่ยุทธศาสตร์กองสุขาภิบาล อาหารและน้ำ
ระดับพื้นฐาน (Learning /Development)
แผนที่ยุทธศาสตร์ (SRM) ระบบรับรองผู้สัมผัสอาหารมืออาชีพ
กลุ่ม น้ำบริโภคสะอาด ปลอดภัย เพียงพอ
นโยบาย/แนวทางการดำเนินงาน และกลุ่มหญิงตั้งครรภ์
การประชุมเชิงปฏิบัติการ
การปรับแนวคิดพื้นฐานเรื่องการ สนับสนุนของกองทุนฯตำบล รูป แบบเดิม รูปแบบ ใหม่
การสร้างและใช้แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบล
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
ทิศทาง การทำงาน๒๕๕๔ นพ.นิทัศน์ รายยวา 1.
แนวทางการดำเนินงาน ปี ๒๕๕๕
คณะที่ ๔ การพัฒนาสุขภาพ ภาคประชาชน ปี 2552 คณะที่ ๔ การพัฒนาสุขภาพ ภาคประชาชน ปี 2552 นพ. นิทัศน์ รายยวา ผู้ตรวจราชการ กระทรวงสาธารณสุข.
การพัฒนาเด็กจังหวัดอุดรธานี
Strategic Route Map (SRM) ประยุกต์จากแนวทางของ นายแพทย์อมร นนทสุต
ความคาดหวังกับรพ.สต.มิติใหม่ของการพัฒนางานสาธารณสุข
วัยรุ่นมีพฤติกรรมที่เหมาะสม หญิงตั้งครรภ์มีพฤติกรรมที่เหมาะสม
มี อปท.สนับสนุนงบประมาณดำเนินงาน มี อปท. จัดกิจกรรมด้านสุขภาพ
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ปฏิบัติการ(SLM) ร่วมสองกรม
มาตรฐานโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ
วิเคราะห์บริบท / สถานการณ์
คำแนะนำการใช้ SLM ร่วมระหว่าง กรมอนามัยและควบคุมโรค  การจัดการทั่วไป 1. สสจ. จัดประชุมเพื่อพัฒนา SLM ร่วมเพิ่มเติม ผู้ เข้าประชุมประกอบด้วยคณะผู้แทนศูนย์อนามัย.
นายแพทย์สมพงษ์ สกุลอิสริยาภรณ์ ผู้อำนวยการสำนักส่งเสริมสุขภาพ
นักโภชนาการสาธารณสุขชำนาญการพิเศษ
มุมมองการพัฒนาและขับเคลื่อน งานกองทุนฯอย่างยั่งยืน
จะเริ่มอย่างไร ? จุดเริ่มต้นของการปฏิรูประบบสุขภาพระดับอำเภอ อยู่ที่การกำหนดค่ากลางของความสำเร็จของโครงการสุขภาพระดับเขต เพื่อส่งมอบให้จังหวัดนำเข้าสู่กระบวนการ(1)
มีการอบรมป้องกันพฤติกรรมเสี่ยงในวัยรุ่น
สรุปการประชุม F.S.C เขตบริการสุขภาพที่ 2
กลไกโภชนาการสมวัย นโยบาย สื่อสารสาธารณะ HUB/ทีมภาค ชุมชน สื่อสาร
สรุปผลการประเมิน ยุทธศาสตร์สุขภาพระดับตำบล อำเภอเรณูนคร ปี 2554
แนวทางดำเนินงานสุขภาพภาคประชาชน ของกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ
ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554 ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554
ผังจุดหมายปลายทาง การพัฒนางานสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค (PP) กองทุนหลักประกันสุขภาพ ระดับท้องถิ่น และเทศบาลเมืองรังสิต จ.ปทุมธานี ภายในปี พ.ศ
ผังจุดหมายปลายทางการจัดการสุขภาพ จังหวัดสุรินทร์ ภายในปี 2555
(Evaluation) มุมมองประชาชน มุมมองภาคี (Stakeholder) มุมมองกระบวนการ
4. ด้านการสื่อสาร 5. ด้านการพัฒนานโยบายสาธารณะ
Roadmap : การขับเคลื่อนระดับพื้นที่ เป็นอย่างไร ??
เป้าประสงค์ มีระบบและกลไกการบริหารจัดการที่ดีด้านอาหารและโภชนาการในระดับท้องถิ่น เกิดศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก บ้านรับเลี้ยงเด็ก โรงเรียน และชุมชนที่พึงประสงค์ด้านโภชนาการ.
ทำแผนที่ทางเดินยุทธศาตร์ของ แกนนำชุมชน เทศบาลสนับสนุน งบประมาณอย่างเต็มที่ เครือข่ายชุมชน วัด โรงเรียนมีบทบาทในการ ดำเนินงานด้านสุขภาพ ใช้แผนที่ยุทธสาสตร์
สำนักงานป้องกันควบคุม โรคที่ 2 จังหวัดสระบุรี. แรงบันดาลใจ  การกระจายอำนาจให้แก่องค์กร ปกครองส่วนท้องถิ่นเข้ามามี บทบาทในการให้บริการ สาธารณะ  ประชาชนสามารถดูแลสุขภาพ.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

A man’s dreams are an index to his greatness การสร้างและใช้ แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ การพัฒนาเด็กจังหวัดอุดรธานี มีโภชนาการสมวัย

แบ่งกลุ่มผู้เข้าประชุม 4 กลุ่ม มุมมองประชาชน มุมมองภาคี มุมมองกระบวนการ มุมมองพื้นฐาน

มุมมองประชาชน ตัวแทนแม่ที่มีบุตรอายุ 0-5 ปี และผู้อาวุโสในชุมชน (เล่า นิทานได้) ประธานและเลขา อสม. รวม 2 คน ประกอบด้วย ผู้ใหญ่บ้าน/กำนัน 1 คน

มุมมองประชาชน ความรู้ ทัศนคติ พฤติกรรม สุขภาพ ความร่วมมือ การมีส่วนร่วม ความ สามัคคี ความเข้มแข็ง การพึ่งพาตนเอง การสื่อสาร ข้อมูล ภูมิปัญญา ประเพณี วัฒนธรรม

ความสามารถในการแสดง บทบาทของ มุมมองภาคี ครูโรงเรียนประถมศึกษา ตัวแทนจาก อปท. ครูพี่เลี้ยงเด็ก จากศูนย์พัฒนาเด็ก ตัวแทนร้านค้าในหมู่บ้าน ผู้แทนจาก กองทุนสุขภาพตำบล

ความสามารถในการแสดง บทบาทของ มุมมองภาคี การกำหนดนโยบาย การสนับสนุนต่างๆ (งบ,วิชาการ) การให้ความร่วมมือ การจัดกิจกรรมสุขภาพ ฯลฯ การแสดงบทบาท

การบริหารจัดการ เกี่ยวกับ การประสานงาน การจัดระบบบริการ การสื่อสาร การสร้างพันธมิตร/การสนับสนุนภาคีเครือข่าย การติดตามและประเมินผล การจัดการความรู้/การสร้างนวัตกรรม มุมมองกระบวนการ เจ้าหน้าที่สาธารณสุข

มุมมองพื้นฐาน เจ้าหน้าที่สาธารณสุข คน (บุคลากรแกนนำ /ความรู้ ทักษะ) วัฒนธรรมองค์กร / บรรยากาศ ขององค์กร ข้อมูล (ครบถ้วน ถูกต้อง เป็นปัจจุบัน)

คุณลักษณะผู้เข้าประชุม 1. ให้ข้อมูลของเรื่องที่นำมาจัดทำแผนที่ฯได้ 2. สามารถแลกเปลี่ยนความคิดเห็นในกลุ่มได้ 3. กล้าแสดงออก 4. เข้าร่วมกิจกรรมครบตามกำหนดเวลาการจัดประชุม 5. สมัครใจเข้าร่วมประชุม

การจัดห้องประชุม จัดแบบชั้นเรียนในช่วงแรกที่เป็นการบรรยาย การประชุมกลุ่ม แยก 4 กลุ่มตามมุมมอง ช่วงประชุมกลุ่ม ใช้เฉพาะเก้าอี้เป็นส่วนใหญ่ ผู้เข้าประชุมควรมีป้ายชื่อ และเขียนอักษรตัวใหญ่

การเตรียมวัสดุ อุปกรณ์ 1. Notebook 4 เครื่องลง Pro. Mind Map 2. LCD 1 เครื่อง 3.Printer 1 เครื่อง หมึก และสะพานไฟ 4. กระดาษถ่ายเอกสาร 2 รีม 5. กระดาษ Flip Chart จำนวน 50 แผ่น

การเตรียมวัสดุ อุปกรณ์ (ต่อ) 6. ปากกาเคมี ชนิด 2 หัว สีแดง สีน้ำเงิน สีดำ อย่างละ 4 ด้าม 7. กระดาษกาว 2 ม้วน 8. กรรไกรตัดกระดาษ 9. กระดาษทำปก ชนิดอ่อน ขนาด A 4 รวม 4 สีๆ 1 รีม 10. ผู้รับผิดชอบพิมพ์งาน ทุกผลงานของทุกกลุ่ม

ผังจุดหมายปลายทาง เด็กมีโภชนาการมีสมวัย จังหวัดอุดรธานี ปี พ. ศ ( ระยะเวลา 4 ปี ) กำหนด ณ วันที่ เดือน. กุมภาพันธ์ พ. ศ มุมมองประชาชนมุมมองภาคี มุมมองกระบวนการมุมมองพื้นฐาน

มุมมองประชาชน (Evaluation) มุมมองภาคี (Stakeholder) มุมมองกระบวนการ (Management) มุมมองพื้นฐาน ( Learning /Development) แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ (SRM)การพัฒนาเด็ก....มีโภชนาการสมวัย พ.ศ กำหนดเมื่อวันที่ กุมภาพันธ์ 2554