Disease Management Information System (DMIS)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Homeward& Rehabilitation system
Advertisements

การบริหารงบกองทุนฯ ปีงบประมาณ 2556 งบค่าเสื่อม
ระบบจัดการผู้ป่วยนอกสำหรับโรงพยาบาล
ช่องทางการกำกับติดตามข้อมูลจาก สปสช.
ระบบส่งเสริมการเกษตร
การจัดสรรเงินเหมาจ่ายรายหัว สำหรับหน่วยบริการในสังกัด สป.สธ. 2556
การบริหารงบค่าเสื่อม 2557
การทำงานเชิงรุกและการส่งต่อ
งบกองทุนทันตกรรม ปีงบประมาณ 2554
แนวทางการตรวจราชการและนิเทศงานกรณีปกติระดับกระทรวง กระทรวงสาธารณสุข เขตตรวจราชการที่ 5 ประจำปีงบประมาณ
สปสช. เขต 8 อุดรธานี รังสรรค์ ศรีภิรมย์ 10 พฤษภาคม 2556
การบันทึกข้อมูลให้บริการ ผู้ป่วยไตวายเรื้อรังระยะสุดท้าย
ตามขั้นตอนการให้บริการสาธารณสุข สิทธิสวัสดิการพนักงานส่วนท้องถิ่น
Use Case Diagram.
ระบบบริหารงบประมาณ และการเงิน (BIS)
การบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA: Public Sector Management Quality Award)
ภาพรวมแผนผังเชิงกลยุทธ์ (Strategy Map)
การบริหารงบบริการสร้างเสริมสุขภาพและ ป้องกันโรคทั่วไป (ยกเว้นค่าบริการทันตกรรมส่งเสริมป้องกัน)
การควบคุมวัณโรคเขตเมือง
ความคิดเห็นของข้าราชการเกี่ยวกับ สวัสดิการการรักษาพยาบาล พ.ศ. 2546
สำนักงานสถิติแห่งชาติ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
นพ.ก้องภพ สีละพัฒน์ ผู้นิเทศงานปฐมภูมิ
การบริการวิกฤตสุขภาพจิตและการปฏิบัติงานทีม MCATTและบทบาทหน้าที่
การดูแลผู้ติดเชื้อและผู้ป่วยเอดส์ ด้วยโปรแกรม HIVQUAL-T
การใช้ข้อมูลจากโปรแกรม NAP
แนวทางการสนับสนุนการจัดบริการป้องกัน เพื่อส่งเสริมสุขภาพ สำหรับกลุ่มผู้ติดเชื้อเอชไอวีและผู้ป่วยเอดส์ นายแพทย์สรกิจ ภาคีชีพ ผู้จัดการ กองทุนเพื่อบริการผู้ติดเชื้อเอชไอวี
25/07/2006.
ระบบHomeward& Rehabilation center
ทางเลือกใหม่ ของ การตรวจสอบสิทธิ.
การขึ้นทะเบียนหน่วยบริการ ในระบบ Data Center
ระบบ IT สปสช. กับงานเฝ้าระวังทาง ระบาดวิทยา
โครงการ "ฟันเทียมพระราชทาน"
นพ.วินัย ศรีสอาด สถาบันเวชศาสตร์ผู้สูงอายุ กรมการแพทย์
กลุ่มข้อมูลข่าวสารสุขภาพ สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ กระทรวงสาธารณสุข
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบล
การพัฒนาโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
ระดับท้องถิ่น/พื้นที่
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ กลไกการสนับสนุนการ ดำเนินงาน โรงพยาบาลสร้างเสริมสุขภาพ ตำบล และ การพัฒนาระบบรับ - ส่งต่อแบบ บูรณาการ 2552.
๒๕ ธ.ค. ๒๕๕๑ ณ โรงแรมมิราเคิล แกรนด์ คอนเวนชั่น กรุงเทพฯ
กลุ่มที่ 13 ประกอบด้วยกลุ่มบุคคลที่มาจากหลายเขต เช่น เขต 1, 2, 3, 10, 15 มีทั้งหมด 3 ประเด็นด้วยกัน คือ 1. สรุปกระบวนการและข้อเสนอแนะการนิเทศ รพ.สต. รอบที่
การบริหารเชิงยุทธศาสตร์
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
แพทย์แผนไทยและแพทย์ทางเลือก ระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า
ระเบียบวาระการเตรียมทีมนิเทศงาน ปี 2557
โครงการยิ้มสวยเสียงใส
กองทุนสมทบ ค่าบริการการแพทย์แผนไทย
โปรแกรมโครงการให้บริการวัคซีนไข้หวัดใหญ่ (INFLUENZA) ปีงบประมาณ2552
ความคาดหวังกับรพ.สต.มิติใหม่ของการพัฒนางานสาธารณสุข
การลงทะเบียนผู้ป่วยใหม่
ค่าบริการแพทย์แผนไทยปีงบ 2556
IM I-4 การวัด วิเคราะห์ performance ขององค์กร และการจัดการความรู้
แนวทางดำเนินงานควบคุม ป้องกัน และรักษาโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง ในระบบหลักประกัน สุขภาพถ้วนหน้า 2554 พญ.ขจีรัตน์ ปรักเอโก สปสช.เขต 7 ขอนแก่น 1 มิถุนายน.
การประเมินคลินิกNCD คุณภาพ
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
ระบบข้อมูลและการเบิกจ่ายงบประมาณ
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ NATIONAL HEALTH SECURITY OFFICE สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ NATIONAL HEALTH SECURITY OFFICE ระเบียบวาระ 3.3 สรุปการ.
เมนู...บันทึกการให้บริการหญิงหลังคลอด
National Health Security Office 1. Subject : งบกองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ถึงปี 2554 จะประกอบด้วย 5 กองทุนย่อย 1.งบบริการทางการแพทย์ (งบเหมาจ่ายรายหัว)
กรอบการบริหารงบบริการ การแพทย์แผนไทย ปีงบประมาณ 2558
งบกองทุนหลักประกันสุขภาพ
นโยบายกรมสุขภาพจิต ปีงบประมาณ 2554
ทีมหมอประจำครอบครัว (Family care team) ดูแลถ้วนทั่วทุกกลุ่มวัย
ระบบบันทึกข้อมูลผู้ป่วย โรคกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือด
ข้อมูลสารสนเทศและ การบริหารจัดการงบ P&P

1 การเบิกจ่ายค่าชดเชยบริการ ปรับเปลี่ยน พฤติกรรมเสี่ยงต่อภาวะโรคเม ตาบอลิก ปีงบประมาณ 2553 พื้นที่กรุงเทพมหานคร.
ระบบการบันทึกข้อมูลและขอชดเชยการรักษาของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพส่วนตำบล กองทุนสวัสดิการพนักงานส่วนท้องถิ่น.
ยุทธศาสตร์การพัฒนารพ. สต. แบบบูรณาการจังหวัดแพร่ ประจำปีพ. ศ
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
ใบสำเนางานนำเสนอ:

Disease Management Information System (DMIS) สำนักบริหารสารสนเทศการประกัน สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ

Concept for Disease management เป็นระบบที่สนับสนุนแพทย์ และความสัมพันธ์ระหว่างบุคลากรสาธารณสุขและผู้ป่วย โดยมีการวางแผนในการดูแลผู้ป่วยแบบครบวงจร เน้นการป้องกันการกำเริบหรือภาวะแทรกซ้อนโดยใช้มาตรฐานการรักษาตามหลักฐานเชิงประจักษ์ (evidence-based practice guidelines) และกลยุทธ์ในการกระตุ้นการดูแลตนเองของผู้ป่วย ต้องการผลลัพธ์ทั้งทาง คลินิก, ความเป็นมนุษย์ และ เศรษฐศาสตร์ เพื่อให้บรรลุเป้าหมายในการที่มีสุขภาพโดยรวมดีขึ้น Source: Disease Management Assn. of America.

Concept for Disease management แพทย์เป็นส่วนหนึ่งของทีม ไม่ใช่ศูนย์กลางของทีม ใช้บุคลากรสาธารณสุขอื่นเป็นหลัก เกือบทั้งหมดเป็นบริการในชุมชน และแบบผู้ป่วยนอก การให้บริการอาจเป็นการให้คำปรึกษาทางโทรศัพท์ มุ่งเน้นการให้ความรู้ผู้ป่วยและญาติ เพื่อปรับพฤติกรรม ประเมินผลโดยดูจากการลดการใช้บริการ อัตราการป่วย มีระบบข้อมูลรวมศูนย์ที่ดี

เปรียบเทียบบทบาทของงานชดเชย vs. Disease mgt. งานชดเชยค่าบริการเป็นส่วนที่ผู้บริหารกองทุนดำเนินธุรกรรมกับ ผู้ให้บริการเป็นหลัก โดยบริหารกองทุนเพื่อให้ผู้รับบริการได้รับ การรักษาพยาบาลเมื่อเจ็บป่วย และ มารับการรักษาพยาบาล Disease Management เป็นธุรกรรมที่ผู้บริหารกองทุนจัดสรรกองทุนให้องค์กรต่างๆที่สามารถให้บริการ ด้านสุขภาพเพื่อให้เกิดการบริการสุขภาพสำหรับโรคเฉพาะหนึ่งๆที่กำหนดในลักษณะของการบริการสุขภาพแบบทั่วด้าน (Holistic) โดยมิได้จำกัดอยู่เฉพาะกับการรักษาในโรงพยาบาล เพื่อให้สามารถลดค่าใช้จ่ายโดยรวม และลดอัตรา ของ Admission ทั้งนี้ เพื่อให้มีการยกระดับคุณภาพชีวิตของผู้รับบริการที่ป่วยด้วยโรคดังกล่าว

Individual records in NHSO Claim data disease mgt. P & P Emergency care Leukemia Lymphoma Hemophilia Open heart surgery Epilepsy Cataract Cleft palate HIV DM & HT&dyslipidimia TB Stroke Screening for metabolic syndrome (sss, csmbs) Screening for stroke Thalassemia Vaccine Thyroid Screening for CA cervix ผู้พิการ Sealant ฟันเทียมพระราชทาน Poisoning (ศูนย์พิษฯ) Pre-hospital care (EMS) Trauma Stroke

Best practice of DMIS จะต้องสามารถแสดงข้อมูลเชิงปริมาณ สามารถควบคุม ติดตามมูลค่าและคุณภาพของการให้การบริการได้ โดยครอบคลุมทั้งสถานะผู้ป่วยนอกและผู้ป่วยใน การจัดการเกี่ยวกับข้อมูล มีองค์ประกอบของระบบที่สำคัญ คือ - Collection : การรวบรวม/บันทึก - Integration : การจัดระบบและบูรณาการ - Analysis : การวิเคราะห์ - Management : การจัดการ - Communication : การสื่อสารข้อมูล

Clinical information system National health security office

Clinical information system เป็นการพัฒนาโปรแกรมประยุกต์ขึ้นในการบันทึกการให้บริการและติดตามผู้ป่วยรายโรคเพื่อเป็นข้อมูลสำหรับวางแผนการดูแลในอนาคตให้เกิดประสิทธิภาพ ส่วนใหญ่รายละเอียดในการพัฒนามักได้จากหน่วยงานที่มีความรู้ความชำนาญ(service agency)ในการให้บริการโรคนั้นๆปัญหาที่พบ คือ การขาดมาตรฐานในการออกแบบหรือมีความซับซ้อน (standard in design or sophistication)

Design of NHSO DMIS แบ่งการทำงานหลักเป็น 2 ระบบ ได้แก่ ระบบการขึ้นทะเบียนหน่วยบริการ (Hospital registration) ระบบการให้บริการผู้ป่วย แบ่งได้เป็น 2 ส่วน คือ ระบบการสมัครเข้าเพื่อขอรับบริการ (Registration for service) www.nhso.go.th การตรวจสอบสิทธิและลงทะเบียนผู้ป่วย การบันทึกรายละเอียดการวินิจฉัยและการให้บริการ ตาม CPG ของแต่ละโรคที่กำหนด การติดตามประวัติผู้ป่วย การรายงาน ระบบการบันทึกข้อมูลรายละเอียดเพื่อติดตามดูแลผู้ป่วยของหน่วยบริการ (Clinical Information System)

การแบ่งภารกิจในการพัฒนา DMIS Hospital Registry สพค.ติดตามคุณภาพหน่วยบริการรับส่งต่อ Patient registration สปสช. สน.ไอทีใช้ในการตรวจสอบสิทธิ minimum data for payment สน.ชดเชยจ่ายเงินให้หน่วยบริการ สน.ภารกิจเฉพาะเพื่อประเมินโครงการ CIS ผุ้เชี่ยวชาญนำไปศึกษาวิจัยและพัฒนาการรักษา Service agency

ภาพรวมของการทำงานด้านข้อมูล Offline/ Online Online register 1 Service agency 3 Download Minimum data set Summary report 2 Register for service CIS Summary report Detailed design CIS = Clinical information system

1. บทบาทหน้าที่ของผู้ใช้ระบบ ระยะ เรื่อง 1) เฉพาะทางผ่าตัด 2) เฉพาะทาง แก้ไขการพูด 3) เฉพาะทาง ทันตกรรม 3) สสจ. 4)รพ.UC 1 ลงทะเบียน เพื่อผ่าตัด Y นัดผู้ป่วยผ่าตัด ยสส2 ยสส3 2 ดูแลการแก้ไขการพูด นัดดูแลผู้ป่วย ลงทะเบียน

Enrollment for disease management Excellent center needed HIV / Aids Metabolic syndrome 3 2 refer 1 จังหวัด จังหวัด จังหวัด

ใครคือผู้มีสิทธิ์ในโครงการบริหารจัดการผู้ป่วย เป็นคนสัญชาติไทย (nation=099) มีเลขประจำตัวประชาชน 13 หลัก สิทธิ UC หรือ สิทธิว่าง ---------------------------------------- HIV : ผู้ป่วยเก่าที่อยู่ในฐานข้อมูลเดิมของกรมคร.และลงทะเบียนก่อนวันที่ 1 ตค. 48 TB : ผู้ป่วยโรควัณโรค สิทธิหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า ณ.1 เมษายน 2550

สมัครเข้าร่วมโครงการ ขั้นตอนการดำเนินงาน ติดต่อ สปสช. สาขาเขตพื้นที่ ผ่าตัด แก้ไขการพูด ทันตกรรม สมัครเข้าร่วมโครงการ “ยิ้มสวยเสียงใส” ขอ username / password เพื่อเข้าใช้งาน www.nhso.go.th ลงทะเบียน disease Follow up

ช่องทางการเข้าใช้งาน www.nhso.go.th ผู้ให้บริการ บริการ online ลงทะเบียนผู้ป่วย DMIS

ตามระดับการเข้าใช้งานของแต่ละผู้ใช้งาน แสดงผลแต่ละโรค ตามระดับการเข้าใช้งานของแต่ละผู้ใช้งาน

ค้นหาจากรหัสบัตรประชาชน

ค้นหาจากชื่อ-สกุล

ยสส 1

ยสส 1

ข้อมูลของผู้ป่วยที่ใช้ในระบบ DMIS ปัจจุบัน Patient’s register ->ลงทะเบียนผู้ป่วย Diagnosis , Treatment , follow up -> บันทึกการตรวจรักษา / ติดตามผล Report -> รายงานต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง

ยสส 2

ระดับการใช้งานแต่ละ menu เมนู สสจ รพ. UC รพเฉพาะทาง ผ่าตัด แก้ไขการพูด ดูแลทาง ทันตกรรม 1.บันทึกการลงทะเบียน / 2.บันทึกการรักษา การนัดผู้ป่วย ยสส2 ยสส3 ยสส4 (แก้ไขการพูด) ยสส5 (ดูแลทางทันตกรรม) 3.แสดงผลการรักษา 4.รายงาน การลงทะเบียน การนัด การผ่าตัด การจ่ายเงิน

ช่องทางการสอบถามการใช้งานโปรแกรม ติดต่อ IT Helpdesk 028314000 ต่อ 2500