คณะที่ ๔ การพัฒนาสุขภาพ ภาคประชาชน ปี 2552 คณะที่ ๔ การพัฒนาสุขภาพ ภาคประชาชน ปี 2552 นพ. นิทัศน์ รายยวา ผู้ตรวจราชการ กระทรวงสาธารณสุข
การพัฒนา สุขภาพภาค ประชาชน ตัวชี้วัด ๓ เรื่อง ๓ ตัว แผนที่ทางเดินของ ยุทธศาสตร์ ( STRATEGY ROUTE MAP) การสร้างขวัญกำลังใจ อสม. จิตอาสา
แผนที่ทางเดิน ของยุทธศาสตร์ จังหวัดมีและใช้แผนที่ ทางเดินฯทุกจังหวัด ระดับปฐมภูมิร่วมกับ อปท. เรียนรู้ มี และ ใช้ทุก กองทุนสุขภาพ ระดับทุติยภูมิ สสอ. มีและ ใช้เกิน กว่าหรือ เท่ากับ 30%
พื้นฐาน กระบว นการ ภาคี ประชา ชน เทคโนโลยีขององค์กรสมรรถนะขององค์กรบรรยากาศที่เอื้ออำนวย จัดระบบข้อมูลทันสมัย ใช้แผนการพัฒนาบุคลากร / แกนนำ สร้างระบบสนับสนุน / บริการจัดระบบการสื่อสารสร้างและบริหารเครือข่าย กระทรวงฯลฯ / สสส / สปสช อปท เข้มแข็งประชาคมมีบทบาท มีระบบสนับสนุนชุมชนชุมชนมีทักษะวางแผนชุมชน มีโครงการของชุมชน % ปชช. ออกกำลังกาย % ร้านอาหาร ได้มาตรฐาน % HT&DM % ชมรม ผู้สูงอายุ % ศูนย์เด็กเล็ก %To Be Number One % ผู้พิการ
“ มี ” ได้มา อย่างไร 1. จัดทีมเรียนรู้ หลากหลายกลุ่มละ 50 คน 2. ติดต่อวิทยากรจาก ศูนย์ สช. 3. เรียนรู้แบบมีส่วนร่วม 3 วัน 4. นำตัวอย่างจริงใน ชุมชนคิดเป็นแผน 5. สรุปเป็นแผนพร้อม โครงการ, กิจกรรม
“ ใช้ ” อย่างไร 1. เป็นธงนำในการบริหาร กองทุนสุขภาพ 2. เป็นเครื่องมือในการกำกับ กิจกรรม 3. เป็นตัวนำในการประสาน ของหน่วยงาน 4. บ่งชี้ความสำเร็จตาม กรอบ
ประเมิน อย่างไร 1. สำรวจกองทุนทั้งหมด ของจังหวัด 2. ตรวจสอบความ ร่วมมือเรียนรู้ทุกแห่ง 3. นับจำนวนอำเภอใน จังหวัด 4. ตรวจสอบ สสอ. มีและ ใช้ (30 % ?)
การสร้างขวัญ กำลังใจ อสม. ทุกจังหวัดมีระบบการดูแล “ ขวัญกำลังใจ ” มีแผนดูแลสิทธิ, สวัสดิการ มีแผนและพัฒนา ศักยภาพ จัดงบประมาณ สนับสนุนเชิงรุก
“ ดูแล ” อย่างไร 1. ดูแผนงานตามเอกสาร 2. สอบถามกิจกรรมจากทุกระดับ 3. รับเสียงสะท้อนจาก อสม. 4. สุ่มสอบถาม อสม.
จิตอาสา ทุกจังหวัดมีการดำเนินการ รพศ./ รพท. มีโครงการ ดำเนินการต่อเนื่อง รพช. มีโครงการ ดำเนินการต่อเนื่อง มากกว่าเท่ากับ 30%
สวัสดี