ความเป็นมา ความสำคัญและบทบาทหน้าที่ของทีม SRRT

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
นโยบายการให้บริการวัคซีนป้องกันโรค ไข้หวัดใหญ่ ประจำปี 2557
Advertisements

ยุทธศาสตร์การพัฒนาสุขภาพ จังหวัดตรัง ปี 2555 งานควบคุมโรคติดต่อ
การบริหารจัดการด้านอุบัติภัยสารเคมี
แนวทางการให้บริการวัคซีนไข้หวัดใหญ่ ประจำปี 2551
มาตรฐานการป้องกันและควบคุมโรคมาลาเรีย ระดับจังหวัด
การเฝ้าระวังโรคทางระบาดวิทยา
นายแพทย์พรเทพ ศิริวนารังสรรค์ อธิบดีกรมควบคุมโรค
สถานีอนามัยสมอพลือ อำเภอบ้านลาด จังหวัดเพชรบุรี.
แบบนำเสนอผลงานโครงการ
บทบาทและแนวทางในการพัฒนา ทีม SRRT ต่อการควบคุมภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข
แหล่งผลิตข้าวหอมมะลิ
29-2 ธันวาคม 2553 โรงแรมกิจตรงวิลล์ รีสอร์ท อุบลราชธานี
เครื่องมือที่ใช้ในการดำเนินงาน
ประชุมwar room ครั้งที่ 3/2554
การเฝ้าระวังและสถานการณ์โรคที่ เฝ้าระวังพิเศษ จังหวัดสุรินทร์ ณ วันที่ 31 กรกฏาคม 2556 โดย งานระบาดวิทยา กลุ่มงานพัฒนายุทธศาสตร์สาธารณสุข สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสุรินทร์
การเฝ้าระวังและสถานการณ์โรคที่ เฝ้าระวังพิเศษ จังหวัดสุรินทร์ ณ วันที่ 19 สิงหาคม 2556 โดย งานระบาดวิทยา กลุ่มงานพัฒนายุทธศาสตร์สาธารณสุข สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสุรินทร์
การเฝ้าระวังเหตุการณ์ในชุมชน
การเฝ้าระวังและสถานการณ์โรคที่เฝ้าระวังพิเศษจังหวัดสุรินทร์
การเฝ้าระวังและสถานการณ์โรคที่เฝ้าระวังพิเศษจังหวัดสุรินทร์
ยุทธศาสตร์ การป้องกันควบคุมไข้หวัดนก
การประเมินความเสี่ยงใน ภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข
การป้องกันและแก้ไขปัญหา ไข้หวัดนกและการระบาดใหญ่ของไข้หวัดใหญ่
คุณลักษณะที่ ๒ มีระบบระบาดวิทยาที่ดีในระดับอำเภอ
อำเภอ ป้องกันควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน นพ.พงศ์ธร ชาติพิทักษ์
สรุปภาพรวมการดำเนินงานที่ผ่านมา
โรคคอตีบ (Diphtheria)
การเฝ้าระวังผู้ป่วยกลุ่มอาการคล้ายไข้หวัดใหญ่ (ILI) ที่เข้ารับการรักษาในสถาบันบำราศนราดูร A Hospital-Based Surveillance of ILI Case-Patients In Bamrasnaradura.
การเฝ้าระวังโรคและภัยสุขภาพ (Diseases & Health Hazard Surveillance )
งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรคและภัยสุขภาพ
ระดับเขต : สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 4 จังหวัดราชบุรี
หลักสูตรพัฒนา SRRT เครือข่ายระดับตำบล
ไข้เลือดออก.
สัมมนาวิชาการโรคติดต่อที่ก่อให้เกิดความรุนแรงทางระบาดวิทยา
สถานการณ์ โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา จังหวัดนครปฐม ประจำเดือน กรกฎาคม 2555 งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรค สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม.
รายงานการเฝ้าระวังโรคช่วงสถานการณ์อุทกภัย จังหวัดนครปฐม 21 พฤศจิกายน 2554 ดรุณี โพธิ์ศรี งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรค สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม.
สถานการณ์ โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา จังหวัดนครปฐม ประจำเดือน กุมภาพันธ์ 2555 ดรุณี โพธิ์ศรี งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรค สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม.
สถานการณ์ โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา จังหวัดนครปฐม ประจำเดือน มีนาคม มีนาคม 2552 งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรค สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม.
แนวคิดในการปรับปรุงรูปแบบและพัฒนามาตรฐานทีม SRRT
การประชุม “โครงการพัฒนาศักยภาพด้านระบาดวิทยาและทีม SRRT จังหวัดนครปฐม”
นโยบายและการจัดการกับภาวะฉุกเฉิน นายแพทย์สาธารณสุขจังหวัดนครปฐม
สถานการณ์โรคที่ต้องเฝ้าระวัง ทางระบาดวิทยา จังหวัดนครปฐม 2551 Darunee Phosri :30551.
สถานการณ์ โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา จังหวัดนครปฐม ประจำเดือน พฤษภาคม 2557 งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรค สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม.
ทิศทางการดำเนินงานป้องกันควบคุม โรคติดต่อนำโดยแมลง ปี 2556
สถานการณ์ โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา จังหวัดนครปฐม
สถานการณ์โรคที่ต้องเฝ้าระวัง ทางระบาดวิทยา ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2551 Darunee Phosri :
ทิศทางอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน ปี 2556
ผู้ป่วยเข้านิยามอาการคล้ายไข้หวัดใหญ่จำนวนทั้งหมด 85 ราย (อัตราป่วย)
MOPH operation center MOPH operation center 20 May 2009.
การใช้ระบาดวิทยา เพื่อพัฒนาระบบเฝ้าระวังเหตุการณ์ในพื้นที่
แนวทางการดำเนินงานด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมกรณีอุทกภัย
การดำเนินงาน อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็ง แบบยั่งยืน จังหวัดน่าน
การใช้ยุทธการ ในการดำเนินงานเพื่อรับมือการระบาด ไข้หวัดใหญ่ 2009 ระลอกสอง การใช้ยุทธการ ในการดำเนินงานเพื่อรับมือการระบาด ไข้หวัดใหญ่ 2009 ระลอกสอง ดร.นพ.ณรงค์
การเฝ้าระวังโรคและภัยสุขภาพ
แนวทางการดำเนินงาน อนามัยสิ่งแวดล้อมในปี 2558
นำเสนอแผนปฏิบัติการสาธารณสุข
มาตรการป้องกันควบคุม โรคติดต่อในช่วงฤดูฝน - ให้คปสอ. ทุกแห่งเร่งรัดดำเนินการดังนี้ ๑. การป้องกัน (Protection) ๑. ๑ สนับสนุนการฝึกอบรมแก่บุคลากรทางการแพทย์ด้านการ.
กลุ่ม 5 ชื่อกลุ่ม ; วายร้าย
กลุ่มที่1 โรคติดต่อนำโดยแมลง
“บทบาทที่ท้าทายของพยาบาล ในการจัดการวิกฤตอุทกภัย”
ประชุม war room ควบคุมโรคเขตเมือง ครั้งที่ 2 /2555
1111 การขับเคลื่อน สู่ เป้าหมายกรม ควบคุมโรค ประจำปีงบประมาณ พ. ศ ดร. นายแพทย์พรเทพ ศิริวนา รังสรรค์ อธิบดีกรมควบคุมโรค 17 พฤษภาคม 2555.
นโยบายและทิศทางการพัฒนาทีม SRRT ปี 2558
สถานการณ์โรคที่สำคัญ ในเขตบริการสุขภาพที่ 11
ด้านการพัฒนาระบบควบคุมโรค
จำนวน อัตราป่วย / ตาย ด้วยโรคที่ เฝ้าระวัง ทางระบาดวิทยา 10 อันดับ จังหวัด สิงห์บุรี
จำนวน อัตราป่วย / ตาย ด้วยโรคที่เฝ้าระวัง ทางระบาดวิทยา 10 อันดับ จังหวัดสิงห์บุรี ( มิ. ย.2550)
ศูนย์อำนวยการบรรเทาสาธารณภัย การพัฒนา องค์กร ประสิทธิภาพของ การปฏิบัติราชการ ประชาชนมีความปลอดภัยในชีวิตและ ทรัพย์สินจากสาธารณภัย มีอำนาจหน้าที่เกี่ยวกับ.
เรื่อง การระบาดของโรคไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่ ชนิด เอ (เอช1 เอ็น1) โดย นายแพทย์ปราชญ์ บุณยวงศ์วิโรจน์ ปลัดกระทรวงสาธารณสุข นายแพทย์ไพจิตร์ วราชิต รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข.
“ทิศทางการบริหารจัดการเชิงยุทธศาสตร์ กรมควบคุมโรค
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ความเป็นมา ความสำคัญและบทบาทหน้าที่ของทีม SRRT นิคม กสิวิทย์อำนวย วท.บ, วท.ม (วิทยาการระบาด) กลุ่มระบาดวิทยา สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 4 จังหวัดราชบุรี

ภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข ( Public Health Emergency ) หมายถึง เหตุการณ์ที่มีลักษณะร่วมของเกณฑ์ 4 ประการ 1. ทำให้เกิดผลกระทบทางสุขภาพที่มีความรุนแรง 2. เป็นเหตุการณ์ที่ผิดปกติหรือไม่เคยมีมาก่อน 3. มีโอกาสที่จะแพร่ไปสู่พื้นที่อื่น 4. อาจต้องมีการจำกัดการเคลื่อนที่ของผู้คนหรือสินค้า

ตัวอย่างของภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข การระบาดของกาฬโรคในทวีปยุโรป การระบาดของอหิวาตกโรคในสมัยรัชการที่ 2 การระบาดของโรคไข้หวัดใหญ่ทั่วโลก การระบาดของโรคมินามาตะ การระบาดของโรคไข้เลือดออกในประเทศไทย

ตัวอย่างของภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข อุบัติเหตุโรงไฟฟ้านิวเคลียร์เชอร์โนบิล โรคทางเดินหายใจรุนแรงเฉียบพลัน ( SARS ) โรคไข้หวัดนก ( Bird Flu ) ธรณีพิบัติจากคลื่น Tsunami ที่ภาคใต้

พ.ศ. 1893 ...ครั้นเมืองอู่ทองประสบเหตุ คือลำน้ำจรเข้สามพันตื้นเขิน เพราะสายน้ำเปลี่ยนทางเดิน ต้องกันดารน้ำเข้าทุกปี เป็นเหตุให้เกิดโรคภัยไข้เจ็บจนถึงเป็นโรคระบาด จึงต้องย้ายนครลงมาตั้งอยู่ที่เมืองอโยธยา....

ในรัชกาลที่ 2 พ.ศ.2363 โรคอหิวาต์ระบาดอยู่ค่อนเดือน มีคนตายทั้งในพระนครและหัวเมืองมากกว่าสามหมื่นคน (หนึ่งในสามของชาวเมือง) โปรดให้ตั้งพระราชพิธีอาพาธพินาศ ที่พระที่นั่งดุสิตา ..... ในรัชกาลที่ 3 เรียกว่า“ห่าปีระกา” ระหว่าง 17 มิถุนายน ถึง 15 กรกฎาคม 2392 วันที่ 24 มิถุนายน 2392 เป็นวันที่มีคนตายมากที่สุดถึง 700 ศพ เฉพาะที่เผาที่วัดสระเกศ วัดสังเวช และวัดบพิตรพิมุข

The Black Death: Bubonic Plague การระบาดของกาฬโรคในทวีปยุโรป ประมาณ พ.ศ. 1890 มีผู้เสียชีวิตประมาณ 25 ล้านคน (1 ใน 3 ของประชากร) อนุสาวรีย์ผู้เสียชีวิตจากกาฬโรคที่เวียนนา

Influenza pandemics 20th century44 Credit: US National Museum of Health and Medicine 1918: “Spanish Flu” 1957: “Asian Flu” 1968: “Hong Kong Flu” 20-40 million deaths 1-4 million deaths 1-4 million deaths A(H1N1) A(H2N2) A(H3N2)

Minamata disease การระบาดของโรคพิษสารตะกั่ว จากโรงงานอุตสาหกรรม ที่ประเทศญี่ปุ่น เริ่มมีรายงานครั้งแรกประมาณปี พ.ศ. 2499 มีรายงานผู้ป่วย 1,760 ราย ตาย 412 ราย มีผู้ป่วยที่สงสัยอีกกว่า 3,000 ราย จ่ายค่าเสียหาย 611 ล้านเหรียญสหรัฐ ในปีพ.ศ. 2536 อ่าวมินามาตะ

อุบัติเหตุโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ อุบัติเหตุโรงไฟฟ้าเชอร์โนบิล ในประเทศรัสเซีย พ.ศ. 2529 ไม่ได้เกิดจากการเดินเครื่องไฟฟ้าตามปกติ แต่เกิดจากการทดลองภายในโรงไฟฟ้า การระเบิดเนื่องจากแรงดันไอน้ำภายในสูง (ไม่ใช่แบบระเบิดนิวเคลียร์) อพยพประชาชนประมาณ 112,000 คน ในรัศมี 30 ก.ม. เจ้าหน้าที่โรงไฟฟ้าและเจ้าหน้าที่ดับเพลิงเสียชีวิต 31 คน มีผู้บาดเจ็บทางรังสี 203 คน ผ่านไป10 ปี อัตราการเกิดโรคต่อมไทรอยด์ในเด็กเพิ่มขึ้น มีผู้เสียชีวิต 3 คน ไม่พบความผิดปกติของโรคมะเร็งในเม็ดโลหิตขาว ปชช.มีอาการทางประสาทเพิ่มขึ้นจากความหวาดกลัว

TSUNAMI ประเทศไทย 26 ธันวาคม 2547 ผู้บาดเจ็บ 8,457 ราย ผู้เสียชีวิต 5,388 ราย สูญหาย 3,120 ราย

ไข้สมองอักเสบ west nile กาฬโรค ไข้สมองอักเสบนิปาห์ ฝีดาษลิง (Monky pox) ไข้สมองอักเสบ west nile

สาธารณภัย (Disaster) อัคคีภัย ธรณีพิบัติภัย อุทกภัย วาตภัย

การก่อการร้าย (Terrorism) อาวุธชีวภาพ นิวเคลียร์ Dirty bomb แก๊สพิษ

ผลกระทบจากภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข ผลกระทบทางสุขภาพ ผลกระทบทางจิตใจ ผลกระทบทางสังคม ผลกระทบทางเศรษฐกิจ ผลกระทบทางการเมือง

การจำแนกประเภทของภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข 1. การระบาดของโรคที่พบบ่อยในพื้นที่ 2. โรคติดเชื้ออุบัติใหม่ 3. อาวุธชีวภาพ 4. สารเคมีที่เป็นพิษ 5. วินาศภัยหมู่ 6. สาธารณภัย 7. ภาวะฉุกเฉินจากรังสี

กลยุทธ์ที่สำคัญ 3 ประการ ของทีม SRRT 1. การจำกัดขอบเขตของโรคที่มีอยู่เดิม 2. การตอบสนองต่อเหตุการณ์ที่ผิดปกติ 3. การเพิ่มความพร้อม

บทบาทหน้าที่ของทีมเฝ้าระวังสอบสวนเคลื่อนที่เร็ว 1. เฝ้าระวังโรคติดต่อที่แพร่ระบาดได้รวดเร็วรุนแรง 2. ตรวจจับภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข 3. ออกสอบสวนโรคอย่างมีประสิทธิภาพและรวดเร็ว 4. ควบคุมโรคฉุกเฉินขั้นต้น 5. แลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารการเฝ้าระวัง

ขีดความสามารถของทีมเฝ้าระวังสอบสวนเคลื่อนที่เร็ว 1. ความสามารถทางด้านระบาดวิทยาและการเฝ้าระวังโรค 2. ความสามารถในการเฝ้าระวังสอบสวนโรคภัยที่ได้มาตรฐาน 3. ความสามารถในการตอบสนองภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข ที่รุนแรง

กลยุทธ์ในการพัฒนาทีม SRRT 1. พัฒนาบุคลากร 2. พัฒนานโยบายและการจัดการ 3. พัฒนาระบบ รูปแบบ แนวทางการดำเนินงาน 4. พัฒนาเครือข่าย