โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ตำบลนมแม่เพื่อสายใยรักแห่งครอบครัว
Advertisements

ยุทธศาสตร์การพัฒนาสุขภาพ จังหวัดตรัง ปี 2555 งานควบคุมโรคติดต่อ
เป้าหมาย ตัวชี้วัด ปี 2557.
(๑๕) (๑๓) (๑๔) (๑๒) ภาคี เครือข่าย (๑๐) (๑๑) (๙) กระบวน (๗) การ (๖)
นโยบายและงานเร่งด่วนของกระทรวงสาธารณสุข ปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๕๕
การประชุมเชิงปฏิบัติการ สร้างและใช้แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์
การประชุมเชิงปฏิบัติการ สร้างและใช้แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์
ยุทธศาสตร์ส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค
แผนยุทธศาสตร์ด้านสุขภาพ เครือข่ายบริการสุขภาพที่ ๖ Service Plan บริการปฐมภูมิ ทุติยภูมิ สุขภาพองค์รวม ทพ.อนุโรจน์ เล็กเจริญสุข ทันตแพทย์เชี่ยวชาญ.
พื้นที่รับผิดชอบของ นสค.
การดำเนินงานโรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน
การประชุมเชิงปฏิบัติการสร้างและใช้ แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์
ตามแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์(SRM) สู่การ ปฏิบัติการในพื้นที่
การส่งเสริมสุขภาพและการควบคุมป้องกันโรค ในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่
การเชื่อมโยงการส่งเสริมสุขภาพระหว่าง
ความหมายและกระบวนการ
สวัสดีครับ.
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ภายในปี 2554 (ระยะ 4 ปี) เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2552 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) ประชาชน.
ผังจุดหมายปลายทางการพัฒนางานสร้างเสริมสุขภาพป้องกันโรค และ ภัยสุขภาพ ของจังหวัดในพื้นที่ สปสช.เขต 4 จังหวัดสระบุรี ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี)
ภ ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
ถอดบทเรียนความก้าวหน้า ในการนำแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ สู่การปฏิบัติ
แนวคิด การดำเนินงาน โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
ประชาชน ภาคี กระบวนการ พื้นฐาน
การประชุมเชิงปฏิบัติการใช้ค่ากลาง
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดต่อทั่วไป ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดเชื้อเฉียบพลันระบบหายใจในเด็ก ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน.
สำนักโรคติดต่ออุบัติใหม่
กำหนดเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553
ระดับพื้นฐาน (Learning /Development)
การพัฒนา หน่วยบริการปฐมภูมิ
แนวทางการพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิและโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล เขต 5
การสร้างแผนที่ยุทธศาสตร์ปฏิบัติการย่อย (Mini-SLM)
การสร้างและใช้แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบล
ข้อเสนอการพัฒนา รพ.สต. เขตตรวจราชการที่ 3
การพัฒนาโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
แนวทางการบริหารงบประมาณสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคระดับพื้นที่
นโยบาย ปฐมภูมิ ลดแออัด พัฒนาคุณภาพบริการ
สรุปแนวทาง การระดมความคิดเห็น กลุ่มย่อยที่ 4
โครงการ/กิจกรรมสำคัญในปี 2557 สิ่งที่ CUP/อำเภอดำเนินการ
สรุปกิจกรรมการประชุมวันที่ 6 ตุลาคม 2553
ทิศทาง การทำงาน๒๕๕๔ นพ.นิทัศน์ รายยวา 1.
แนวทางการดำเนินงาน ปี ๒๕๕๕
นโยบาย ส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค ของกระทรวงสาธารณสุข
ร่วมด้วย ช่วยกัน ประชาชนคือ เป้าหมาย ร่วมด้วย ช่วยกัน ประชาชนคือ เป้าหมาย นพ. นิทัศน์ ราย ยวา ผู้ตรวจราชการ กระทรวงสาธารณสุข.
คณะที่ ๔ การพัฒนาสุขภาพ ภาคประชาชน ปี 2552 คณะที่ ๔ การพัฒนาสุขภาพ ภาคประชาชน ปี 2552 นพ. นิทัศน์ รายยวา ผู้ตรวจราชการ กระทรวงสาธารณสุข.
ความคาดหวังกับรพ.สต.มิติใหม่ของการพัฒนางานสาธารณสุข
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ปฏิบัติการ(SLM) ร่วมสองกรม
วิเคราะห์บริบท / สถานการณ์
คำแนะนำการใช้ SLM ร่วมระหว่าง กรมอนามัยและควบคุมโรค  การจัดการทั่วไป 1. สสจ. จัดประชุมเพื่อพัฒนา SLM ร่วมเพิ่มเติม ผู้ เข้าประชุมประกอบด้วยคณะผู้แทนศูนย์อนามัย.
ส่งเสริมสัญจร.
แนวทางการดำเนินงาน กรมอนามัย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2554
บทเรียนการดำเนินการ กองทุนทันตกรรม ศูนย์อนามัยที่ 4 ราชบุรี
การบริหารและพัฒนาบุคลากร ในหน่วยบริการปฐมภูมิ เขต ๘
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
มีการอบรมป้องกันพฤติกรรมเสี่ยงในวัยรุ่น
การเชื่อมโยงนโยบายบริการสุขภาพลงสู่อำเภอ, ตำบล
บทบาท อสม.เชิงรุก ๑. เป็นผู้นำทางความคิดและผู้นำทางด้านสุขภาพในระดับชุมชน ในการลดโรค ๕ โรคสำคัญที่เป็นสาเหตุการตายลำดับต้นๆของประชาชน คือ เบาหวาน ความดันโลหิตสูง.
คปสอ.ยางตลาด จังหวัดกาฬสินธุ์ ผลงานรอบที่ 1/2555.
สรุปผลการประเมิน ยุทธศาสตร์สุขภาพระดับตำบล อำเภอเรณูนคร ปี 2554
มาตรการป้องกันควบคุม โรคติดต่อในช่วงฤดูฝน - ให้คปสอ. ทุกแห่งเร่งรัดดำเนินการดังนี้ ๑. การป้องกัน (Protection) ๑. ๑ สนับสนุนการฝึกอบรมแก่บุคลากรทางการแพทย์ด้านการ.
ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554 ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554
1111 การขับเคลื่อน สู่ เป้าหมายกรม ควบคุมโรค ประจำปีงบประมาณ พ. ศ ดร. นายแพทย์พรเทพ ศิริวนา รังสรรค์ อธิบดีกรมควบคุมโรค 17 พฤษภาคม 2555.
ผังจุดหมายปลายทางการจัดการสุขภาพ จังหวัดสุรินทร์ ภายในปี 2555
(Evaluation) มุมมองประชาชน มุมมองภาคี (Stakeholder) มุมมองกระบวนการ
และการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ ประจำปี ๒๕๕๕ สาธารณสุขอำเภอป่าติ้ว
หน่วยงานภาครัฐ, อปท. และเอกชนมีสนับสนุน งบประมาณ, ประสานงาน กัน อย่างต่อเนื่องและ เข้มแข็ง ( นาจอมเทียน, บางเสร่, พูลตาหลวง, แสมสาร, สัตหีบ ) มีระบบข้อมูลที่มี
แนวทางการพัฒนาหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดโรคฯ
ทำแผนที่ทางเดินยุทธศาตร์ของ แกนนำชุมชน เทศบาลสนับสนุน งบประมาณอย่างเต็มที่ เครือข่ายชุมชน วัด โรงเรียนมีบทบาทในการ ดำเนินงานด้านสุขภาพ ใช้แผนที่ยุทธสาสตร์
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
ใบสำเนางานนำเสนอ:

โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล นพ.สมิต ประสันนาการ นายแพทย์เชี่ยวชาญ (ด้านเวชกรรมป้องกัน) 1

เป้าหมายการพัฒนา รพ.สต. ปี 2553 70 แห่ง ปี 2554 34 แห่ง ปี 2555 26 แห่ง รวม 130 แห่ง ( 209 สอ.)

คน ข้อมูล เงิน งาน รพศ./ท สสอ./รพช. ประชาคม ชมรม รพ.สต สมาคม อปท. อสม. กรอบแนวคิด รพศ./ท คน ข้อมูล สสอ./รพช. ประชาคม ชมรม สมาคม อปท. รพ.สต เงิน งาน อสม. ประชาชน

ผ ผู้สูงอายุ แม่และเด็ก เบาหวาน โรคหัวใจ ผู้พิการ ภายใน รสต ภายใน รสต ผู้มีปัญหาทางจิต เบาหวาน โรคหัวใจ ผู้พิการ ประชาชนปรับเปลี่ยน พฤติกรรม ประชาชน ชุมชน มีมาตรการทาง สังคม ชุมชนมีโครงการของชุมชนโดย ชุมชน ชุมชน มีระบบเฝ้าระวังที่มี ประสิทธิภาพ อปท.ร่วมตัดสินใจ ขับเคลื่อนและสนับสนุนทรัพยากรอย่างเพียงพอและต่อเนื่อง กลุ่ม องค์กรในและนอกพื้นที่มีบทบาท ภาคี หน่วยงานภาครัฐทุกระดับสนับสนุนและประสานงานอย่างเข้มแข็ง การจัดการนวัตกรรมที่ดี ระบบสื่อสารสารสนเทศมีประสิทธิภาพ กระบวนการ ระบบบริหารจัดการองค์กรและภาคีเครือข่ายมีประสิทธิภาพ ภายใน รสต องค์กรมีบรรยากาศเอื้ออำนวยต่อการทำงาน ระบบข้อมูลมีคุณภาพ พื้นฐาน บุคลากร แกนนำมีสมรรถนะที่เหมาะสม ภายใน รสต 4

ทีมพัฒนา รพ.สต. 1. ทีมจังหวัด 4 ทีม แต่ละทีม ประกอบด้วย - ประธาน - รองประธาน - เลขา - นักจัดการข้อมูล - นักพัฒนาบุคคลากร - นักพัฒนาระบบการเงิน - นักพัฒนางานแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ - ผู้เชี่ยวชาญงาน CANDO 2. ทีมอำเภอ 1 ทีม องค์ประกอบเหมือนทีมจังหวัด 3. ทีม รพ.สต. 1 ทีม

คน 1. จำนวน 2. สมรรถนะ

ข้อมูล 1. การคัดกรองสุขภาพประชาชน แยกเป็น กลุ่มดี เสี่ยง ป่วยเรื้อรัง พิการ กลุ่ม CANDO 2. การจัดทำรายงานกิจกรรมการให้บริการและข้อมูลทางการเงิน (ของ รพช. และ รพ.สต.) เพื่อคืนข้อมูลผู้ป่วย OPD 5 โรคแรกจาก รพช. สู่ รพ.สต. ให้ครบถ้วน ทันเวลา ถูกต้อง

เงิน 1. On top payment 69 รพ.สต. 112 สอ. 2. OPD capitation 38 รพ.สต.

งาน 1. งานรักษาพยาบาล ฟื้นฟู และระบบส่งต่อเอื้ออาทร 1. งานรักษาพยาบาล ฟื้นฟู และระบบส่งต่อเอื้ออาทร ผู้รับผิดชอบคือ เสือเวชปฏิบัติ (NP) 2. งานส่งเสริมป้องกัน ผู้รับผิดชอบคือ 4 เสือปฐมภูมิ ผ่านกระบวนการการจัดทำแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ของตำบล และพัฒนางาน รพ.สต. เชี่ยวชาญ 10 งาน ได้แก่ MCH DM/HT สุขภาพจิต/ผู้สูงอายุ อนามัยสิ่งแวดล้อม ลด ละ เลิกบุหรี่/แอลกอฮอล์ อาหารปลอดภัย/อุจจาระร่วง ผู้พิการ มะเร็งตับ/ท่อน้ำดี มะเร็งเต้านม/ปากมดลูก และสารเคมีเป็นพิษ

โดยแต่ละ รพ.สต.ดำเนินการดังนี้ 1. จัดทำ SRM และ Mini SLM 2. จัดทำแผนปฏิบัติการ (ตาราง 11 ช่อง) 3. จัดทำ Flow chart กระบวนการทำงาน และตัวชี้วัด 4. จัดทำผังกำกับงาน 5. จัดทำคู่มือการปฏิบัติงาน

กิจกรรม / กระบวนการ / การสนับสนุน ประเด็นสำคัญในการตรวจประเมินผลงาน รพ.สต.ปี ๒๕๕๓ ประเด็นสำคัญ กิจกรรม / กระบวนการ / การสนับสนุน ๓.๑ รพสต.มีสมรรถนะและมีบรรยากาศเอื้ออำนวย ๓.๑.๑ มีจำนวนบุคลากรเหมาะสมกับงาน (๑ : ๑,๒๕๐) ๓.๑.๒ มีพยาบาลเวชปฎิบัติ ๑ : ๕,๐๐๐ (ทีมละ ๒ – ๓ คนต่อประชากร ๑๐,๐๐๐ คน) ๓.๑.๓ ทีมงานมีการเรียนรู้แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ (SRM) และการจัดการความรู้เพื่อใช้ในการพัฒนาการทำงานเป็นทีม ๓.๑.๔ ทีมงานมีขวัญกำลังใจและมีความสามารถสร้างจริยธรรมในการทำงานร่วมกัน ๓.๑.๕ ทีมงานมีความรู้ ทักษะและพัฒนาต่อเนื่อง ๓.๑.๖ มีระบบสื่อสารที่มีประสิทธิภาพ (โทรศัพท์ติดต่อประชาชน, Web cam) ๓.๑.๗ สร้างกระบวนการจัดการข้อมูลที่ทันสมัยใช้ในการดูแลสุขภาพประชาชน ๓.๑.๘ ทีมสหวิชาชีพ (แพทย์,ทันตแพทย์,เภสัชกร)เป็นพี่เลี้ยงช่วยเหลือ

กิจกรรม / กระบวนการ / การสนับสนุน ประเด็นสำคัญในการตรวจประเมินผลงาน รพ.สต.ปี ๒๕๕๓ (ต่อ) ประเด็นสำคัญ กิจกรรม / กระบวนการ / การสนับสนุน ๓.๒ รพสต. มีระบบบริหารจัดการองค์กรมีประสิทธิภาพ ๓.๒.๑ ปฎิบัติงานเชิงรุก “ ใช้บ้านเป็นที่ทำงาน ” ๓.๒.๒ ประสาน “ การส่งต่อเอื้ออาทร ” ๓.๒.๓ สนับสนุนส่งเสริมการสร้างนวัตกรรมบริการ,วิธีการและผลผลิต ๓.๒.๔ จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้อย่างมีประสิทธิภาพ ๓.๒.๕ มีการพัฒนาระบบสื่อสารสาธารณะเข้าถึงประชาชน ๓.๒.๖ มีระบบการติดตามประเมินผลอย่างต่อเนื่อง

กิจกรรม / กระบวนการ / การสนับสนุน ประเด็นสำคัญในการตรวจประเมินผลงาน รพ.สต.ปี ๒๕๕๓ (ต่อ) ประเด็นสำคัญ กิจกรรม / กระบวนการ / การสนับสนุน ๓.๓ ภาคีทุกภาคส่วนร่วมตัดสินใจขับเคลื่อนและสนับสนุน ๓.๓.๑ อปท. ประชาคม มูลนิธิ ชมรม ร่วมขับเคลื่อนทำแผน, ทำประชาคมให้เกิดการปฎิบัติการอย่างต่อเนื่อง ๓.๓.๒ มีกองทุนสุขภาพร่วมแก้ไขปัญหาในพื้นที่ ๓.๓.๓ องค์กรต่างๆร่วมเป็นเจ้าภาพดูแล “ สุขภาวะ ” ๓.๓.๔ ผู้นำชุมชน,อสม. ร่วมงานแข็งขันดุจญาติมิตร ๓.๓.๕ มี ร.ร. อสม. เพื่อพัฒนาให้ชุมชนพึ่งตนเอง รวมทั้งสนับสนุนการดำเนินการของ รร.อสม.ในระยะยาว

กิจกรรม / กระบวนการ / การสนับสนุน ประเด็นสำคัญในการตรวจประเมินผลงาน รพ.สต.ปี ๒๕๕๓ (ต่อ) ประเด็นสำคัญ กิจกรรม / กระบวนการ / การสนับสนุน ๓.๔ ชุมชนเข้มแข็งประชาชนสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมได้ ๓.๔.๑ มีการสร้างแกนนำเฝ้าระวังปัญหาสุขภาพในชุมชน ๓.๔.๒ ชุมชนกำหนดมาตรการทางสังคมอย่างมีส่วนร่วม ๓.๔.๓ ชุมชนทำแผนชุมชนเอง

การประกวด รพ.สต. ดีเด่น - 1 อำเภอ 1 รพ.สต. ดีเด่น - 1 อำเภอ 1 รพ.สต. ดีเด่น จังหวัดคัดเลือก 4 รพ.สต. ดีเด่น ส่งเข้าประกวดระดับเขต

สวัสดี