กองทุนสมทบ ค่าบริการการแพทย์แผนไทย งบ OP 1 บาท / หัวประชากร จัดสรรเพิ่มเติมให้กับจังหวัดที่มีอัตราการใช้บริการนวดไทยเพื่อการรักษาและฟื้นฟูสภาพสูงกว่าอัตราการใช้บริการเฉลี่ยในภาพรวม
แนวทางการบริหารกองทุนแพทย์แผนไทย ปี 2550 เสนอเลขาธิการ สปสช.ลงนาม ในระเบียบ แจ้งผู้มีส่วนเกี่ยวข้องเพื่อดำเนินการ งบปี 2550 28.2 ล้าน สมทบตามผลงาน 3 เดือน งบOP หน่วยบริการ สมทบ ปี 2551 ยังไม่สมทบ กองทุนระดับจังหวัด การเบิกจ่าย (เข้าที่ประชุมคปภจ. 5 กพ.2551) งบปี 2551 46.477 ล้าน สมทบตามผลงาน 3 เดือน +จัดสรรล่วงหน้า หน่วยบริการรายงานผล ส่งงานแพทย์แผนไทย สสจ. ประเมินติดตาม ตาม CPG
แนวทางการสนับสนุนและเบิกจ่ายงบประมาณ จังหวัด ตั้งกองทุนชดเชยบริการระดับจังหวัด (ใช้ บ/ช 6 งานแพทย์แผนไทยรวบรวมรายงานและจัดสรร ทุก 3 เดือน) หน่วยบริการ เฉพาะหน่วยบริการที่จัดบริการนวดแผนไทย (ยกเว้น ไชยวาน) 1.ร้อยละ 20 ให้ทุกหน่วยบริการตามสัดส่วนผลงาน ครั้งแรก มค-มีค 2.ร้อยละ 80 ให้หน่วยบริการที่มีอัตราบริการสูงกว่าค่าเฉลี่ย ชมละ 200
ระบบรายงานและข้อมูลที่ต้องการ 1.จำนวนครั้งและเวลาที่บริการ เพื่อการรักษาและฟื้นฟูสภาพ รายหน่วยบริการ รายอำเภอ แยก ผู้ป่วย uc ข้อราชการและอื่น ๆ 2.การวินิฉัยโรค การรักษา ยา เพื่อแสดงผลลัพธ์การลดการใช้ยา NSAID 3.อัตราค่าบริการที่เรียกเก็บ 4.จำนวนครั้ง / ประเภทของบริการแพทย์แผนไทยประเภทอื่น และแพทย์ทางเลือกที่หน่วยบริการดำเนินการอยู่ 5.คุณสมบัติของผู้ให้บริการแต่ละประเภท แต่ละคน และแผนความต้องการในการพัฒนา 6.จำนวนรายชื่อ สอ.ที่ให้บริการนวดไทย เพื่อการรักษา/ฟื้นฟูสภาพ
หน่วยบริการที่จะทำการเบิกจ่าย ให้ดำเนินการดังนี้ 1.จัดทำแผนพัฒนาส่วนที่ขาด / ไม่ผ่านเกณฑ์ ตามผลการประเมิน ปี 2550-2551 (สถานภาพหน่วยบริการ สปสช.) รายละเอียดตามเอกสาร 5 2.จัดทำแผนพัฒนาบุคลากร ผู้ให้บริการด้านการแพทย์แผนไทย ให้ผ่านเกณฑ์ ( สถานภาพ ผู้ให้บริการ) รายละเอียดตามเอกสาร 5 3. จัดทำรายงานประจำเดือน โดยแยกรายงานการให้บริการนวดไทยในระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า จากรายงาน E- report ส่งงานการแพทย์แผนไทยฯ
หน่วยบริการที่จะทำการเบิกจ่าย ให้ดำเนินการดังนี้ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดอุดรธานี เป็นประจำทุกเดือน (ตัดยอด ณ วันที่ 25 ของเดือน ) เพื่อให้หน่วยบริการเบิกจ่ายเป็นรายงวดทุก 3 เดือน 4. ประชาสัมพันธ์ระบบบริการให้ผู้รับบริการทราบ 5. จัดทำ CPG ด้านการแพทย์แผนไทย