โครงการความร่วมมือในการพัฒนาผลิตภัณฑ์สมุนไพร คุณภาพสู่ระบบบริการสุขภาพ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Homeward& Rehabilitation system
Advertisements

กลุ่มที่ 2 สถาบันที่ยังไม่มี IBC
การเปลี่ยนแปลงเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ ปลัดกระทรวงสาธารณสุข
สัปดาห์ที่ 2 เรื่อง โครงการสุขศึกษา
ระบบข้อมูลการป่วย ระบบงานที่เกี่ยวข้องกับข้อมูลสาเหตุภายนอก ที่ทำให้บาดเจ็บ ระบบรายงาน ระบบฐานข้อมูลผู้ป่วยในรายบุคคล.
แผนการดำเนินงาน สคร.5 ลำดับที่ กิจกรรม ระยะเวลาดำเนินการ หมายเหตุ 1
การเตรียมความพร้อมเพื่อรับมือกับการระบาดของโรคไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่
โครงการพัฒนาโรงพยาบาลราชบุรี บริการฉับไว ไร้ความแออัด
กลุ่มที่ สถาบันที่มี IBC
นโยบายด้านการบริการวิชาการ
สถานีอนามัยสมอพลือ อำเภอบ้านลาด จังหวัดเพชรบุรี.
กลุ่มโภชนาการประยุกต์
เกิดได้ก็ดี คาดว่าต้องเกิด ต้องเกิด เกษตรปลอดสาร ประชาชนฉลาดซื้อ ฉลาดใช้ ฉลาดกิน มีศูนย์รับข้อร้องเรียน คาดว่าต้องเกิด ครัวเรือนปลูกผักกินเอง “
ยุทธศาสตร์การค้าสินค้าเกษตรอินทรีย์ของกระทรวงพาณิชย์
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ภายในปี 2554 (ระยะ 4 ปี) เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2552 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) ประชาชน.
ภ ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดต่อทั่วไป ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
สำนักโรคติดต่ออุบัติใหม่
การประชุมกลุ่มย่อยเรื่อง ด้วย การพัฒนาศักยภาพ ของภาคประชาชน / แรงงาน / ผู้บริโภค ในการสนับสนุนให้นำ GHS ไป ปฏิบัติ ประธาน : ผศ. สำลี ใจดี เลขานุการกลุ่ม.
โครงการพัฒนาการบริการเด็กที่มีปัญหาพัฒนาการและออทิสติก
Best Practice โรงพยาบาลสมเด็จพระญาณสังวร จังหวัดเชียงราย
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
กลุ่มข้อมูลข่าวสารสุขภาพ สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ กระทรวงสาธารณสุข
กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
ทิศทางการบริหารงบประมาณ สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบล
รพสต. ความปลอดภัยผลิตภัณฑ์ พฤติกรรม การโฆษณา การบริโภค หลอกลวง
ข้อเสนอการพัฒนา รพ.สต. เขตตรวจราชการที่ 3
รักษาราชการแทนปลัดกระทรวงสาธารณสุข
สรุปการประชุม เขต 10.
น.พ. ศิริวัฒน์ ทิยพ์ธราดล
นโยบาย ปฐมภูมิ ลดแออัด พัฒนาคุณภาพบริการ
สำนักประสานการพัฒนาโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
นพ.สมชาย เชื้อเพชรโสภณ ผู้ตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข เขต 13
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
ศูนย์แพทย์แผนไทย โรงพยาบาลกุดชุม จังหวัดยโสธร.
แพทย์แผนไทยและแพทย์ทางเลือก ระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า
คบส Powerpoint by Mr.Prachasan Saenpakdee M.P.H.
การนิเทศติดตาม.
สรุปผลการดำเนินงานการแพทย์แผนไทยโซน
การติดตามประเมินผล โครงการให้วัคซีนป้องกัน โรคไข้หวัดใหญ่
การพัฒนาระบบการกระจายวัคซีน & รายงานผลงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค
ความคาดหวังกับรพ.สต.มิติใหม่ของการพัฒนางานสาธารณสุข
สรุปบทเรียนโครงการเอดส์ ด้าน CARE
ตัวชี้วัด เป้าหมาย แนวทางดำเนินงาน ของกลุ่มงานคุ้มครองผู้บริโภค
โดย ศูนย์พิทักษ์สิทธิผู้บริโภคจังหวัด สงขลา สถาบันการจัดการระบบสุขภาพ ภาคใต้ ม. สงขลานครินทร์
หลักการและเหตุผล หน่วยงานภาครัฐ/ เอกชน ต่างคนต่างทำงานไม่ได้เชื่อมประสานการทำงานเป็นเครือข่าย โรคและภัยสุขภาพเกิดขึ้นในทุกพื้นเพียงแต่แตกต่างกันในรายละเอียด.
การป้องกันและควบคุมโรคในเขตบริการสุขภาพ
แนวทางการปฏิบัติภารกิจ ของสถานีอนามัย
กรอบยุทธศาสตร์กระทรวงในการจัดทำแผนปฏิบัติราชการ พ. ศ ของ วท
ความคาดหวังของเขตสุขภาพต่อการดำเนินงานสุขภาพจิตในพื้นที่
พรทิพย์ ศิริภานุมาศ กองแผนงาน กรมควบคุมโรค
สรุปผลการประเมิน ยุทธศาสตร์สุขภาพระดับตำบล อำเภอเรณูนคร ปี 2554
แนวทางดำเนินงานสุขภาพภาคประชาชน ของกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ
นโยบายกรมสุขภาพจิต ปีงบประมาณ 2554
เป็นผู้นำด้านวิชาการ และเทคโนโลยีการ ป้องกันและควบคุมโรค ระดับจังหวัดและเขต.
ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554 ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554
หลักการ และแผนงานการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์อยู่ดีมีสุขระดับจังหวัด ปีงบประมาณ 2551 สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ 20 กรกฎาคม 2550.
ทิศทางการพัฒนางานสุขศึกษาและพฤติกรรมสุขภาพ
แผนธุรกิจ (Business Plan)
กลุ่มที่ 2 กลุ่มพัฒนาภาคีเครือข่าย สคร.1-12
ประชาชน “อุ่นใจ” มีญาติทั่วไทย เป็นทีมหมอครอบครัว
คปสอ.เลิงนกทา เป็นองค์กรบริหารด้านสุขภาพที่มีประสิทธิภาพและโปร่งใส
แนวทางการดำเนินงาน แพทย์แผนไทย ปี 57
“สังคมคุณภาพเพื่อผู้สูงอายุ”
ยุทธศาสตร์การพัฒนาสินค้าข่าเหลือง
โครงการด้านเทคโนโลยีสารสนเทศที่ดำเนินการในปีงบประมาณ 2553
แนวทางการดำเนินงานสาธารณสุขที่สำคัญ กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
ใบสำเนางานนำเสนอ:

โครงการความร่วมมือในการพัฒนาผลิตภัณฑ์สมุนไพร คุณภาพสู่ระบบบริการสุขภาพ กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ สถาบันวิจัยสมุนไพร ศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์อุบลราชธานี สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดยโสธร กลุ่มงานคุ้มครองผู้บริโภค โรงพยาบาลกุดชุม ชุมชนผู้ปลูกสมุนไพรเป็นวัตถุดิบ

นโยบายกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ สนับสุนน งานวิจัย วิชาการ พัฒนาความรู้ความเข้าใจผู้สั่งใช้ยา ผลิตยาสมุนไพรคุณภาพสนับสนุนในระยะแรก เป็นที่ปรึกษาการพัฒนาสถานที่ผลิตยาสมุนไพรคุณภาพ พัฒนากระบวนการผลิตและควบคุมคุณภาพ พัฒนาสูตรตำรับ

ประชาชน/ผู้รับบริการ นโยบายจังหวัดยโสธร โรงพยาบาล (สั่งใช้ยา) สถานีอนามัย (สั่งใช้ยา) โรงพยาบาลกุดชุม (ฐานการผลิต) ยาสำเร็จรูป ยาสำเร็จรูป วัตถุดิบ วัตถุดิบ ชุมชน วัตถุดิบ พึ่งตนเอง ยาสำเร็จรูป ยาสำเร็จรูป ประชาชน/ผู้รับบริการ

กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ ประชาชน/ผู้รับบริการ MODEL DMSC 53 นโยบายจังหวัดยโสธร กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ โรงพยาบาล (สั่งใช้ยา) พัฒนาความรู้ความเข้าใจผู้สั่งใช้ยา ผลิตยาสมุนไพรคุณภาพสนับสนุนใน ระยะแรก สถานีอนามัย (สั่งใช้ยา) ยาสำเร็จรูป เป็นที่ปรึกษาการพัฒนาสถานที่ผลิต ยาสมุนไพรคุณภาพ GMP พัฒนากระบวนการผลิตและควบคุม คุณภาพ พัฒนาสูตรตำรับ โรงพยาบาลกุดชุม (ฐานการผลิต) ยาสำเร็จรูป วัตถุดิบ ยาสำเร็จรูป วัตถุดิบ วัตถุดิบ ชุมชน พึ่งตนเอง ความรู้การปลูก การดูแล และการ เก็บเกี่ยว สมุนไพร สายพันธุ์ที่ดี ยาสำเร็จรูป ประชาชน/ผู้รับบริการ

สถานการณ์ปัจจุบัน ขบวนการผลิต แหล่งวัตถุดิบ - ส่วนใหญ่ใช้กำลังคน - กำลังการผลิตน้อย แหล่งวัตถุดิบ -ซื้อจากชาวบ้าน -บางฤดูกาลไม่เพียงพอ แหล่งกระจายยา - โรงพยาบาลกุดชุม

กรอบแนวคิด ขบวนการผลิต วัตถุดิบ แหล่งกระจาย - การปลูก - บุคลากร - เครื่องมืออุปกรณ์ - สถานที่ - การควบคุมคุภาพ วัตถุดิบ - การปลูก - การดูแลรักษา - การเก็บเกี่ยว - ควบคุมคุณภาพ แหล่งกระจาย -ผลิตภัณฑ์มีคุณภาพ -เป็นที่ยอมรับ -เพียงพอต่อความ ต้องการ

บัญชียาหลักแห่งชาติ พิจารณาร่วมกัน 2 ชนิด ชนิดที่ 1 ฟ้าทะลายโจร ชนิดที่ 2 ขมิ้นชัน

สิ่งที่คาดหวังในอนาคต ครอบคลุมประชากร จำนวน 500,000 คน แบ่งเป็น - รพท. จำนวน 1 แห่ง - รพช. จำนวน 8 แห่ง - สอ. จำนวน111 แห่ง รวม 120 แห่ง จำนวนที่ต้องการผลิต - ฟ้าทะลายโจรแคปซูล จำนวนประมาณ 500,000 แคปซูล - ขมิ้นชันแคปซูล 1,000,000 แคปซูล

ผลการดำเนินงาน กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ สถาบันวิจัยสมุนไพร สนับสนุน ข้อมูลวิชาการ ฟ้าทะลายโจร แคปซูล 1,000,000 แคปซูล ขมิ้นชัน แคปซูล 1,000,000 แคปซูล พัฒนาสถานที่ผลิตยาสมุนไพรคุณภาพ(GMP) ศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์อุบลราชธานี สนับสนุน จัดประชุมวิชาการ โดยมีกลุ่มเป้าหมาย คือ -ชุมชนผู้ปลูกสมุนไพรเป็นวัตถุดิบ -จนท.ภาครัฐที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับสมุนไพร อาทิเช่นแพทย์,เภสัชกร เป็นต้น

ผลการดำเนินงาน(ต่อ) สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดยโสธร กลุ่มงานคุ้มครองผู้บริโภค ประสานเชื่อมโยงเครือข่ายผู้ใช้ยาจากสมุนไพร กระจายยาสมุนไพรให้แก่ รพท,รพช,สอ ติดตามการใช้ยาสมุนไพร ดำเนินการพัฒนาสถานที่ผลิต โรงพยาบาลกุดชุม พัฒนาชุมชนผู้ปลูกสมุนไพร เป็นฐานการผลิตสมุนไพร

ผลการดำเนินงาน(ต่อ) ชุมชนผู้ปลูกสมุนไพรเป็นวัตถุดิบ * ปลูกสมุนไพรเพื่อการพึ่งตนเอง ของชุมชนตามภูมิปัญญาชาวบ้าน * ปลูกสมุนไพรเป็นวัตถุดิบ เพื่อป้อนแหล่งผลิต * ชุมชนมีรายได้เพิ่มขึ้น ประชาชน/ผู้รับบริการ * ได้รับยาที่มีคุณภาพ ปลอดภัย * ได้ช่วยเหลือชุมชนของตนเอง