จำนวนผู้ติดเชื้อเอชไอวี/เอดส์ ปี2554 ในเขตอำเภอเมือง จังหวัดเชียงราย

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ยุทธศาสตร์การพัฒนาสุขภาพ จังหวัดตรัง ปี 2555 งานควบคุมโรคติดต่อ
Advertisements

การทำงานเชิงรุกและการส่งต่อ
สมรรถนะที่จำเป็นสำหรับผู้รับผิดชอบ การจัดการรายบุคคลในโรงพยาบาล (Case Manager และ Case Management Unit)
ดูแล ด้วยใจ ห่วงใยด้วย pap โดย ลาเดือน แก้วจินดา 04/04/60.
การควบคุมวัณโรคเขตเมือง
หัวหน้ากลุ่มโรคเอดส์และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
ประชุมเพื่อประสานแผน การทำงาน การกำหนดเป้าหมาย และการติดตามกำกับงาน
การบริหาร ยุทธศาสตร์บูรณา การการป้องกันและ แก้ไขปัญหาเอดส์ ระดับจังหวัด กลุ่มผู้ติดเชื้อ เอชไอวี
ปัญหา เอดส์และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
การดูแลผู้ติดเชื้อและผู้ป่วยเอดส์ ด้วยโปรแกรม HIVQUAL-T
สรุปการวิเคราะห์ความสำเร็จและโอกาสพัฒนาในโครงการพัฒนาคุณภาพการดูแลผู้ติดเชื้อ/ผู้ป่วยเอดส์ ในภาพรวมของเขต 10 สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 10 เชียงใหม่
โรงพยาบาลท่าม่วง อำเภอท่าม่วง จังหวัดกาญจนบุรี
โรงพยาบาลทับสะแก อำเภอทับสะแก จังหวัดประจวบคีรีขันธ์
คณะทำงานการดูแลรักษาผู้ติดเชื้อผู้ป่วยเอดส์ด้วยยาต้านไวรัส
คุณภาพมาตรฐาน บริการด้วยนำใจ สิ่งแวดล้อมสดใส ห่วงใยปวงประชา
สรุปผลการดำเนินงาน โครงการพัฒนารูปแบบการดูแลรักษาผู้ติดเชื้อและ ผู้ป่วยเอดส์อย่างครอบคลุมในพื้นที่ 8 จังหวัดภาคเหนือตอนบน (TUC Care Project) ปี
Group Learning HIVQUAL-T Forum
Best Practice โรงพยาบาลสมเด็จพระญาณสังวร จังหวัดเชียงราย
สถานการณ์เอดส์ เด็ก 28 ราย ผู้ติดเชื้อและผู้ป่วยเอดส์สะสม ทั้งจังหวัด
สรุปการวิเคราะห์ความสำเร็จและ โอกาสพัฒนาในโครงการพัฒนา คุณภาพการดูแลผู้ติดเชื้อ ผู้ป่วยเอดส์ ในภาพรวมของเขต เขต 8 นครสวรรค์ นครสวรรค์ กำแพงเพชร อุทัยธานี
ผลการดำเนินงานเอดส์ ปี 2550
โรงพยาบาลอุตรดิตถ์ รพศ. ขนาด 562 เตียง.
การคัดกรองมะเร็งปากมดลูกในหญิงติดเชื้อ : ประสบการณ์โรงพยาบาลแม่ลาว Mae Lao hospital, Chiang Rai province, Thailand สุทธินีพรหมใจษา วราลักษ์ รัตนธรรม สุภาพรตันสุวรรณ.
การบูรณาการงานเอดส์ วัณโรค และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
การบูรณาการงาน HIV CARE สู่งานพัฒนาคุณภาพ
โรงพยาบาลทับสะแก อ.ทับสะแก จ.ประจวบคีรีขันธ์ ขนาด 60 เตียง
การใช้ข้อมูลจากโปรแกรม NAP
แนวทางการสนับสนุนการจัดบริการป้องกัน เพื่อส่งเสริมสุขภาพ สำหรับกลุ่มผู้ติดเชื้อเอชไอวีและผู้ป่วยเอดส์ นายแพทย์สรกิจ ภาคีชีพ ผู้จัดการ กองทุนเพื่อบริการผู้ติดเชื้อเอชไอวี
การติดตามการตรวจ CD4 ใน Asymtomatic patient (CD4 award)
การส่งเสริมวินัยการกินยาต้านไวรัสเอดส์
บทเรียน.. การดำเนินงานพัฒนาคุณภาพบริการ ด้วยรูปแบบ HIVQAUL-T ในเขต 13
25/07/2006.
การพัฒนาคุณภาพบริการ การดูแลผู้ติดเชื้อเอชไอวีและผู้ป่วยเอดส์
ภาพรวม/บทเรียนการดำเนินงานพัฒนาคุณภาพฯ HIVQUAL-T ของ รพ.ครู ก.
การส่งเสริมผู้ติดเชื้อ / ผู้ป่วยเอดส์รายใหม่เข้าสู่ระบบการดูแลรักษา
1. ชื่อผลงาน: ส่งเสริมการเข้าถึงบริการอย่างเป็นมิตร
การพัฒนางานคุณภาพงานเอดส์
โครงการเพื่อนช่วยเพื่อน กลุ่มดอกไม้งาม อ.มวกเหล็ก จ.สระบุรี
สถานการณ์และการดำเนินงานดูแลเด็กติดเชื้อเอชไอวี
การดูแล ผู้ติดเชื้อ / ผู้ป่วยเอดส์ ตำแหน่ง พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
ผลการพัฒนาการบันทึกข้อมูล HIV-QualT ในโรงพยาบาลระโนด จ. สงขลา. โดย นส
ระบบบริการดี ตรวจซีดีโฟร์ ครบตามมาตรฐาน
ผลการเฝ้าระวัง และป้องกันความล้มเหลวในการรักษาในโรงพยาบาลระโนด จ. สงขลา โดย นส.จาฤดี กองผล, นางละมัย ช่วยแดง พยาบาลประจำคลินิกยาต้านไวรัสโรงพยาบาลระโนด.
บริบาลเภสัชกรรม รวดเร็วปลอดภัย คลินิกเด็กหัวใจสีเหลือง.
การดำเนินกิจกรรมเพื่อป้องกันการตั้งครรภ์ในกลุ่มวัยรุ่น
สรุปการประชุม เขต 10.
พัฒนาคุณภาพเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอและหน่วยบริการ ปฐมภูมิ
การขับเคลื่อนการดำเนินงานสุขภาพจิตชุมชน
ไข้เลือดออก.
ทิศทางอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน ปี 2556
คลินิกผู้สูงอายุต้นแบบ (Geriatric Clinic Model) โรงพยาบาลอุดรธานี
สรุปบทเรียนโครงการเอดส์ ด้าน CARE
การพัฒนากิจกรรมเพื่อการป้องกันการเกิดเชื้อเอชไอวีดื้อยา
การให้การปรึกษาในการตรวจเอชไอวี แบบฟังผลในวันเดียว Counseling with Same Day HIV Testing 12 July 2011.
บทเรียนจากการเก็บข้อมูลภาคสนามเพื่อการติดตามตาม HIVDR-EWI
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
สิ่งที่ต้องทำต่อ 1.นำเสนอผลสำเร็จของนโยบาย ปี นำเสนอนโยบายปี 55 และตัวชี้วัด สำคัญ ตามใบงานที่ 7 8และ 9 ประธาน : นพ.สสจ. วันที่ 13 ก.ย.54 เวลา 13.00น.
สรุปการประชุมกลุ่มย่อยที่ 1
การพัฒนางานวิกฤตสุขภาพจิต ปีงบประมาณ 2558
รอบที่ 2 ปีงบประมาณ สรุปตามมิติทาง ยุทธศาสตร์ การพัฒนาองค์กร ร้อยละ 22 ประสิทธิภาพการปฏิบัติราชการ ร้อยละ 15 คุณภาพการบริการ ร้อยละ 22 ประสิทธิผลตาม.
คปสอ.ยางตลาด จังหวัดกาฬสินธุ์ ผลงานรอบที่ 1/2555.
สรุปผลการประเมิน ยุทธศาสตร์สุขภาพระดับตำบล อำเภอเรณูนคร ปี 2554
การพัฒนางานสุขภาพจิต วัยทำงาน - สูงอายุ
นโยบายกรมสุขภาพจิต ปีงบประมาณ 2554
สกลนครโมเดล.
ผังจุดหมายปลายทางการจัดการสุขภาพ จังหวัดสุรินทร์ ภายในปี 2555
สรุปประเด็น เรื่อง แนวคิดการจัดการรายกรณีเพื่อการดูแลต่อเนื่อง
การป้องกัน การเสริมสร้างบทบาทองค์ ความรู้แก่ผู้นำทาง ความคิดของเด็กและ เยาวชน การพัฒนาความร่วมมือ ของ ภาคีเครือข่าย การขจัดสิ่งยั่วยุและ อิทธิพลจากสื่อ.
การดำเนินงาน PMTCT (การป้องกันการถ่ายทอดเชื้อเอชไอวีจากแม่สู่ลูก)
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การพัฒนาคุณภาพบริการเพื่อป้องกัน การเกิดเชื้อดื้อยา โรงพยาบาลเชียงรายประชานุเคราะห์

จำนวนผู้ติดเชื้อเอชไอวี/เอดส์ ปี2554 ในเขตอำเภอเมือง จังหวัดเชียงราย ในเขตอำเภอเมือง จังหวัดเชียงราย 131 96 193 132 33 60 57 129 252 83 77 202 75 143

HIV in each schemes 2011 (N=3,103 ราย)

จำนวนผู้ป่วยเอชไอวี/เอดส์ที่ลงทะเบียนมารับบริการ ในโรงพยาบาลประชานุเคราะห์ ตั้งแต่ปี 2547 - 2554 จำนวน (ราย) ข้อมูลจาก NAP Programe

จำนวนการได้รับยาต้านไวรัสของผู้ป่วยเอชไอวี/เอดส์ผู้ใหญ่ ที่รับบริการในโรงพยาบาลประชานุเคราะห์ ตั้งแต่ปี 2550 - 2554 จำนวน (ราย) ข้อมูลจาก NAP Programe

การนำข้อมูลมาใช้ประโยชน์ ติดตามดูความครอบคลุมคุณภาพการบริการดูแลรักษาผู้ติดเชื้อเอชไอวี/เอดส์ตามตัวชี้วัดต่างๆ ตัวชี้วัดมาตรฐานสถานให้บริการเอชไอวี/เอดส์ ของกรมควบคุมโรค ตัวชี้วัด HIVQUAL T, Pediatric HIVQUAL ( Early Warning Indicators) ตัวชี้วัด EWI

นโยบาย ประชาชน HA Input Process Out put Outcome Impact การติดตามประเมินผลโครงการพัฒนาคุณภาพบริการการดูแลผู้ติดเชื้อเอชไอวี/เอดส์ร.พเชียงรายประชานุเตราะห์ Input Process Out put Outcome Impact นโยบาย ประชาชนและ องค์กรมีสุขภาวะ สนับสนุนการดำเนินงานการพัฒนาคุณภาพ การ VCT การ monitor CD4 ทุก 6 เดือน การเตรียมความพร้อมก่อนกินยาต้าน ฯ การคัดกรองโรคTB,CM,STI โรคซึมเศร้า การป้องกัน OI: PCP, CM PMTCT ประชาชนและ องค์กรมีสุขภาวะ เกิดระบบการพัฒนา คุณภาพการดูแล รักษาในหน่วยบริการ ครอบคลุมทุกพื้นที่ การบริการดูแล รักษาในสถานบริการ มีคุณภาพตาม มาตรฐาน งบประมาณ ร.พ,ส.ป.ส.ช อัตราตาย ลดลง มีสุขภาพ ดีขึ้น พัฒนาเครือข่ายผู้ให้บริการการดูแลรักษา ด้านคุณภาพ สร้างระบบการประสานงาน/การปรึกษา การส่งรักษาต่อกับ ร.พ.ชุมชนและเรือนจำ การดูแลรักษา องค์รวม 4 มิติ ผู้ติดเชื้อได้รับบริการ ที่มีคุณภาพและเข้า สู่การรักษาเร็วขึ้น เกิดระบบการติดตาม ประเมินผลการดูแล รักษา พัฒนาศักยภาพพี่เลี้ยงผู้ดูแลรักษาด้าน สุขภาพ ส่งบุคลากรในทีมเข้าอบรมวิชากร เป็นที่ปรึกษา พี่เลี้ยงให้แก่ ร.พ.ชุมชน ศูนย์องค์รวม แกนนำผู้ติดเชื้อ HA อัตราดื้อยา และOI ลดลง ผู้ติดเชื้อมีสุขภาพที่ดี กินยาอย่างสม่ำเสมอ ลดการขาดนัดมีระดับ CD4สูงขึ้นและระดับ VLลดลง การพัฒนา บุคลากร พัฒนาระบบติดตามประเมินผล ทบทวน KPI ตาม HIVQUAL-T, EWI นำ KPI ตกเกณฑ์มาพัฒนา QI

Adult HIVQUAL-T Indicators ของผู้ป่วยเอชไอวี/เอดส์ ที่รับบริการในโรงพยาบาลประชานุเคราะห์ ตั้งแต่ปี 2005 - 2011 (%) 2010 HIVOUAL-T V. 5.3 with NAP

ผลการวัดตัวชี้วัด EWI Adult Patient retention on first-line ART at 12 month (EWI3a) goal:≥ 70 VL supression following 12 months of first line ARV(EWI8a) goal: ≥ 70 (%)

ผลการวัดตัวชี้วัด EWI Adult 1) Patient change ART to second line after 12 month (EWI3b)goal: 0 2) Patient loss to follow-up during 12 month after startART(EWI2) goal: ≤ 20

การพัฒนาคุณภาพบริการ Adult HIV/AIDS ตัวชี้วัด แผนพัฒนาคุณภาพ ผลการพัฒนา VL supression following 12 months of first line ARV(EWI8a) พัฒนารูปแบบการเตรียมความพร้อมก่อนเริ่มยาต้านไวรัส 2554 VL supression =88.5% VL>2000 =3% VL 41-1999 =7.5% การเตรียมความพร้อมรายกลุ่ม/บุคคลก่อนรับการรักษาเพื่อให้ผู้ติดเชื้อ/ผู้ป่วยเอดส์และผู้ดูแลมีความพร้อมในการรับประทานยาต้านไวรัสเอชไอวี -โครงการ “เข้าใจ มีวินัย ไม่ดื้อยา” แลกเปลี่ยนเรียนรู้ในกลุ่ม VL not suppress เริ่มทำ Ped HIV Qual-T ปี 2548 หลังทำพบว่ามีสิ่งที่ต้องปรับปรุงหลายจุด และส่วนใหญ่เกิดจาการขาดการบันทึก จึงได้พัฒนาแบบบันทึกผู้ป่วยให้มีความครอบคลุมมากขึ้น

การพัฒนารูปแบบการเตรียมความพร้อมก่อน เริ่มยาต้านไวรัส ให้ครอบคลุม การพัฒนารูปแบบการเตรียมความพร้อมก่อน เริ่มยาต้านไวรัส ให้ครอบคลุม ความรู้เรื่องเอดส์ โรคติดเชื้อฉวยโอกาส การป้องกันการถ่ายทอดเชื้อและการรับเชื้อ เอชไอวีเพิ่ม การรักษาด้วยยาต้านไวรัส การสร้างพลังใจและการวางแผนชีวิต สิทธิและสิทธิประโยชน์ของผู้มีเชื้อเอชไอวี การส่งเสริมสุขภาพ

กิจกรรมกลุ่มเตรียมความพร้อมก่อนรับยาต้านไวรัส

Pre-post test

การพัฒนาคุณภาพบริการ Adult HIV/AIDS ตัวชี้วัด แผนพัฒนาคุณภาพ VL supression following 12 months of first line ARV(EWI8a) กิจกรรมกลุ่มแลกเปลี่ยนเรียนรู้ของวัยรุ่นติดเชื้อเอชไอวีที่ได้รับยาต้านไวรัส สร้างความรู้ความเข้าใจในการดูแลตนเองในเรื่องเอชไอวีและการทานยาต้านไวรัสกลุ่มผู้ติดเชื้อเอชไอวี/เอดส์ในเรือนเรือนจำ สร้างความรู้ความเข้าใจในการดูแลตนเองในเรื่องเอชไอวีและการทานยาต้านไวรัสกลุ่มผู้ติดเชื้อเอชไอวี/เอดส์ในชุมชน 5 ตำบลในเขตอำเภอเมือง กิจกรรมทำอย่างไรให้ชีวิตยืนยาวและมีความสุข เริ่มทำ Ped HIV Qual-T ปี 2548 หลังทำพบว่ามีสิ่งที่ต้องปรับปรุงหลายจุด และส่วนใหญ่เกิดจาการขาดการบันทึก จึงได้พัฒนาแบบบันทึกผู้ป่วยให้มีความครอบคลุมมากขึ้น

กิจกรรมเชิงรุก… ลงสู่ชุมชน

บรรยายความรู้เรื่องโรคเอดส์

แบ่งกลุ่มระดมสมอง 1. สาเหตุที่ทำให้เกิดการติดเชื้อเอชไอวี 2 แบ่งกลุ่มระดมสมอง 1. สาเหตุที่ทำให้เกิดการติดเชื้อเอชไอวี 2. ทำอย่างไรให้ชีวิตยืนยาวและมีความสุข

กิจกรรมผ่อนพักตระหนักรู้

กิจกรรมเก้าอี้ดนตรีแก้ง่วง

ตัวแทนกลุ่มนำเสนอผลการระดมสมอง

ถ่ายรูปหมู่เป็นหลักฐาน

กิจกรรมกลุ่มแลกเปลี่ยนเรียนรู้ของวัยรุ่นติดเชื้อเอชไอวีที่ได้รับยาต้านไวรัส

Aldolescent HIV [MTCT] รายละเอียด ผลลัพธ์ จำนวนเด็กที่รับย้ายมาตั้งแต่ พ.ย ปี 2552 46 ราย (ช=15,ญ=31) เสียชีวิต 2 ราย (ช=2) ย้ายไปโรงพยาบาลชุมชน 2 ราย ย้ายไปโรงพยาบาลต่างจังหวัด 1 ราย ย้ายไปโรงพยาบาลศรีบุรินทร์ ขาดการรักษาต่อเนื่อง 7 ราย (ช=5,ญ=2) ยังคงมารับการรักษาต่อเนื่อง 33 คน (ช=8,ญ=25) มีคุณแม่วัยรุ่น 6 ราย

Aldolescent HIV [MTCT] ผลการดำเนินงาน รายละเอียด ผลลัพธ์ จำนวนเด็กที่มี VL<40 copy 22 ราย (66%) จำนวนเด็กที่มี VL>2000 copy 6 ราย (19%) จำนวนเด็กที่มี VL>40 - 1999 5 ราย (15%) ยังใช้สูตรยาพื้นฐาน 25 ราย (75.7%) ใช้ยาสูตรดื้อยา 8 ราย (24.3%)

กิจกรรมสร้างความรู้ความเข้าใจในเรือนจำ

ผู้ติดเชื้อเอชไอวี/เอดส์ในเรือนจำ ชาย หญิง รวม Asymtomatic HIV 30 16 46 On ART 63 20 83 93 36 129 dead 6 1 7

ผู้ติดเชื้อเอชไอวี/เอดส์ในเรือนจำ ผลการดำเนินงาน รายละเอียด ผลลัพธ์ ชาย ผลลัพธ์ หญิง รวม VL<40 copy 56 19 75 VL>2000 copy 1 2 VL>40 - 1999 4 6 ยังใช้สูตรยาพื้นฐาน 59 20 79 ใช้ยาสูตรดื้อยา Median CD4 = 129 Max = 289 Min = 4

การพัฒนาคุณภาพบริการ Adult HIV/AIDS ตัวชี้วัด แผนพัฒนาคุณภาพ ร้อยละของผู้ที่รับยาต้านไวรัสได้รับการประเมินadherence อย่างต่อเนื่องและพบadherence ≥100%(EWI7a) กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ประสบการณ์ชีวิตหลังทานยาต้านไวรัสของผู้ติดเชื้อเอชไอวี/ผู้ป่วยเอดส์และผู้ดูแล พัฒนาแบบฟอร์มในการซักประวัติเพื่อให้ครอบคลุมและครบถ้วน โครงการอบรมพัฒนาศักยภาพบุคลากรทางการพยาบาลในการดูแลผู้ติดเชื้อเอชไอวี/เอดส์แบบองค์รวม ร้อยละของผู้ที่เริ่มยาใหม่และขาดการติดตามในช่วง 12 เดือนแรกหลังเริ่มยาARV(EWI2) กิจกรรมติดตามรายที่ขาดนัดเพื่อให้ได้รับการรักษาอย่างต่อเนื่อง เริ่มทำ Ped HIV Qual-T ปี 2548 หลังทำพบว่ามีสิ่งที่ต้องปรับปรุงหลายจุด และส่วนใหญ่เกิดจาการขาดการบันทึก จึงได้พัฒนาแบบบันทึกผู้ป่วยให้มีความครอบคลุมมากขึ้น

กิจกรรมกลุ่มเสริมสร้าง Adherence

โครงการอบรมพัฒนาศักยภาพบุคลากรทางการพยาบาลในการดูแลผู้ติดเชื้อเอชไอวี/เอดส์แบบองค์รวม

แบบฟอร์มซักประวัติ

แบบฟอร์มติดตามกรณีขาดนัด

ติดตามประวัติเช็คadherence Early warning system ดึงข้อมูลVLทุก 2 อาทิตย์ VL > 2000 ติดตามประวัติเช็คadherence Adherence ดี ส่ง DR ได้ผลDRกลับมา ติดต่อให้ผู้ป่วยมารับยา

ขอบคุณค่ะ งานเอดส์รพ.เชียงรายประชานุเคราะห์