โครงงานต่อยอดเทคโนโลยีที่สืบค้นจากเอกสารสิทธิบัตรระดับนานาชาติ
โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาภาคเหนือ อำเภอเมือง จังหวัดพิษณุโลก โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาภาคเหนือ อำเภอเมือง จังหวัดพิษณุโลก
แปลง เป็นเงิน คณะผู้จัดทำ นาย อร่ามพงศ์ ดีอินทร์ แปลง เป็นเงิน คณะผู้จัดทำ นาย อร่ามพงศ์ ดีอินทร์ นางสาว กิดานันท์ ถาหมี นางสาว อาริสา ขวัญคุ้ม
ที่มาและความสำคัญ แปลงรกมะพร้าวเป็นเงินเพราะรกมะพร้าวไม่ค่อยมีผู้นำมาใช้ประโยชน์ส่วนใหญ่จะปล่อยให้แห้งและนำไปเผาทิ้ง
จุดมุ่งหมายของการศึกษา เพื่อนำรกมะพร้าวมาผลิตเป็นผลิตภัณฑ์รูปแบบต่างๆ
ขอบเขตของการศึกษาค้นคว้า รกมะพร้าว การขจัดขุยออกจากรกมะพร้าว วิธีการขจัดขุยออกจากรกมะพร้าว ผลิตภัณฑ์รูปแบบต่างๆจากรกมะพร้าว
สมมุติฐานการศึกษา แล้วขัดตามแนวเส้นใยไปในทางเดียวกัน เมื่อนำรกมะพร้าวแช่น้ำ แล้วขัดตามแนวเส้นใยไปในทางเดียวกัน ด้วยแปรงไนลอนชนิดขนแปรงอ่อน น่าจะขจัดขุยออกจากรกมะพร้าวได้
ตัวแปรที่ใช้ในการศึกษา ตัวแปรต้น ได้แก่ การขจัดขุยออกจากรกมะพร้าว ตัวแปรตาม ได้แก่ เส้นใยของรกมะพร้าวที่มีขุยน้อยลง ผิวของผลิตภัณฑ์เรียบขึ้น ตัวแปรควบคุม ได้แก่ ปริมาตรน้ำ การขัดตามแนวเส้นใย ไปในทางเดียวกัน โดยใช้แปรงไนลอนชนิดขนแปรงอ่อน
นิยามศัพท์ รกมะพร้าว หมายถึง เยื่อหุ้มก้านใบมะพร้าว รกมะพร้าว หมายถึง เยื่อหุ้มก้านใบมะพร้าว ขุยของรกมะพร้าว หมายถึง เศษผงเล็กสีน้ำตาลทิ่ติดอยู่ ตามเส้นใยของรกมะพร้าว การขจัดขุยจากรกมะพร้าว หมายถึง การทำให้ขุยของรกมะพร้าว หลุดออกจากเส้นใยของ รกมะพร้าวด้วยวิธีการต่างๆ แปรงไนลอน หมายถึง แปรงที่ใช้ซักผ้ามีที่จับเป็นไม้ ขนแปรงละเอียด น้ำ หมายถึง น้ำปะปา
วัสดุและอุปกรณ์ที่ใช้ ส่วนของพืชที่ใช้ในการทดลอง รกมะพร้าว วัสดุและเครื่องมือ อุปกรณ์ที่ใช้แช่รกมะพร้าว บีกเกอร์ กระบอกตวง กระจกนาฬิกา แปรงไนลอนชนิดขนแปรงอ่อน น้ำ
วิธีการดำเนินการ ตอนที่ 1 ศึกษาคุณสมบัติทางกายภาพของรกมะพร้าว ตอนที่ 1 ศึกษาคุณสมบัติทางกายภาพของรกมะพร้าว เช่น ลักษณะของเส้นใย จำนวนขุย ฯลฯ
วิธีการดำเนินการ ตอนที่ 2 ขจัดขุยออกจากรกมะพร้าว
วิธีการดำเนินการ ตอนที่ 3 ศึกษารูปแบบของผลิตภัณฑ์
สรุปและอภิปรายผล การศึกษาสมบัติทางกายภาพของรกมะพร้าว ตำแหน่งที่ 1 รกมะพร้าวบริเวณคอมะพร้าวและก้านใบแห้ง ลักษณะ สีน้ำตาลเข้ม เส้นใยมีความห่างมากที่สุด เส้นใยมีความยาวและหยาบ
ตำแหน่งที่ 2 รกมะพร้าวบริเวณก้านใบเพสลาด ลักษณะ สีน้ำตาลเข้ม เส้นใยมีขนาดสั้นและเล็ก ขุยมากกว่าตำแหน่งที่1
ลักษณะ ตำแหน่งที่ 3 รกมะพร้าวบริเวณก้านใบอ่อน สีน้ำตาลอ่อน ตำแหน่งที่ 3 รกมะพร้าวบริเวณก้านใบอ่อน ลักษณะ สีน้ำตาลอ่อน เส้นใยสั้นกว่าตำแหน่งที่ 2 เส้นใยคล้ายเส้นใยผ้าชามัวร์ ความห่างของเส้นใยน้อยที่สุด ขุยลักษณะละเอียดและหนาแน่นกว่ามาก
สรุปและอภิปรายผล ผลการทดลองขจัดขุยออกจากรกมะพร้าว โดยการแช่น้ำในเวลาที่ต่างกัน และขัดด้วยแปรงไนลอน ชนิดขนแปรงอ่อนไปในทางเดียวกัน ตำแหน่งที่ 1 รกมะพร้าวบริเวณคอมะพร้าวและก้านใบแห้ง เมื่อแช่น้ำ 1-2 ชั่วโมง ขจัดขุยได้ยาก 3 ชั่วโมง ขจัดขุยได้ง่าย เส้นใยไม่เปลี่ยนแปลง 3 ชั่วโมงขึ้นไป ขจัดขุยได้ง่าย เมื่อขัดแล้วเส้นใยจะห่าง
ตำแหน่งที่ 2 รกมะพร้าวบริเวณก้านใบเพสลาด ตำแหน่งที่ 2 รกมะพร้าวบริเวณก้านใบเพสลาด เมื่อแช่น้ำ 1-2 ชั่วโมง ขจัดขุยได้ยาก 3 ชั่วโมง ขจัดขุยได้ง่าย เส้นใยไม่เปลี่ยนแปลง 3 ชั่วโมงขึ้นไป ขจัดขุยได้ง่าย เมื่อขัดแล้วเส้นใยจะห่าง
ตำแหน่งที่ 3 รกมะพร้าวบริเวณก้านใบอ่อน ตำแหน่งที่ 3 รกมะพร้าวบริเวณก้านใบอ่อน เมื่อแช่น้ำ 1-2 ชั่วโมง ขจัดขุยได้ยาก 3 ชั่วโมง ขจัดขุยได้ง่าย เส้นใยไม่เปลี่ยนแปลง 3 ชั่วโมงขึ้นไป ขจัดขุยได้ง่าย เมื่อขัดแล้วเส้นใยจะห่าง
ผลการศึกษารูปแบบของผลิตภัณฑ์ จากการศึกษารูปแบบผลิตภัณฑ์จากแหล่งต่างๆ พบว่า ไม่มีผลิตภัณฑ์ที่ทำจากรกมะพร้าว ยกเว้นการนำรกมะพร้าว ไปใช้ติดตามรูปที่ตัดไว้ เช่น รูปช้าง ฯลฯ ผู้จัดทำจึงได้บูรณาการรูปแบบผลิตภัณฑ์ที่ทำจากหวาย ผ้าฝ้าย ฯลฯ มาผลิตเป็นผลิตภัณฑ์ที่มีเอกลักษณ์เฉพาะตัว
ฝ่ายบริหารโรงเรียเตรียมอุดมศึกษา ภาคเหนือ ครูโกสุม ชัยรัตน์ ขอขอบคุณ ฝ่ายบริหารโรงเรียเตรียมอุดมศึกษา ภาคเหนือ ครูโกสุม ชัยรัตน์ ครูสุพัตรา เรียงชัยนาม ครูนงลักษณ์ สุนทราวงศ์ ครูอัญชลี อากาศเมฆ ครูศิริวิทย์ ดวงสว่าง คณาจารย์จากมหาวิทยาลัยราชมงคล วิทยาเขตล้านนา จังหวัดพิษณุโลก คณะกรรมการ โครงงานสืบค้นเอกสารสิทธิบัตรนานาชาติเพื่อพัฒนาโครงงานต่อยอดเทคโนโลยี นางสาวรัชนก นาคแทน นักเรียนชั้น ม.5.4 ทีมงานบรรณารักษ์อาสาห้องสมุด โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ภาคเหนือ และ ผู้ร่วมงานทุกคนที่ทุ่มเททั้งกำลังกาย กำลังสติปัญญา จนผลงานสำเร็จลุล่วงตามจุดมุ่งหมายด้วยดี