กรอบแนวคิดและแนวดำเนินงาน สำนักพัฒนากิจกรรมนักเรียน สพฐ. (OBEC) กรอบแนวคิดและแนวดำเนินงาน โครงการพัฒนาคุณธรรมและสร้างจิตสำนึกความเป็นไทยเพื่อพัฒนาเด็กไทยอย่างยั่งยืน สำนักพัฒนากิจกรรมนักเรียน
ดนตรี นาฏศิลป์ กีฬาไทย/พื้นบ้าน สพฐ. (OBEC) แผนปฏิบัติการไทยเข้มแข็ง 2555(แผนฟื้นฟูเศรษฐกิจ ระยะที่ 2 : SP2) โครงการพัฒนาคุณธรรมและสร้างสำนึกความเป็นไทยเพื่อพัฒนาเด็กไทยอย่างยั่งยืน 1.เสริมสร้างคุณธรรม จริยธรรม เศรษฐกิจพอเพียง ระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน 2.พัฒนาคุณภาพการสอนภาษาไทยในสถานศึกษาทุกแห่ง 3.ส่งเสริมและพัฒนาการเรียนรู้ประวัติศาสตร์ชาติไทย สังคมศึกษา ประชาธิปไตย 4.ส่งเสริมดนตรีไทยและดนตรีพื้นบ้าน 5. ส่งเสริมกีฬาไทยและกีฬาพื้นบ้าน
กรอบแนวคิด ดนตรี นาฏศิลป์ กีฬาไทย/พื้นบ้าน สพฐ. (OBEC) ดนตรี กีฬาไทย และพื้นบ้าน สรรค์สร้างความเป็นไทย
ระดับชาติ จังหวัด เขตพื้นที่ สร้างจิตสำนึก ดนตรีไทย ดนตรีพื้นบ้าน นาฏศิลป์ไทย นาฏศิลป์พื้นบ้าน ดนตรี /นาฏศิลป์ กีฬาไทย กีฬาไทย กีฬาพื้นบ้าน A สพฐ. จังหวัด B C สพท. สถานศึกษา D ศูนย์/ ตำบล (๘,๘๖๐ ตำบล) ๑ วงใหญ่ (๑๘๕) เป้าหมาย ๓๑,๘๒๑ โรง ๘,๐๒๕,๗๐๒ คน ๑ เล่น ๑ รำ ๑ ทักษะ ๓ ร้อง ปี ๕๓ร้อยละ ๓๐ ปี ๕๕ ร้อยละ ๑๐๐ ปี ๕๔ร้อยละ ๓๐ (รวม ๖๐%) มหกรรมดนตรี ปี๕๕ ร้อยละ ๔๐ (รวม ๑๐๐%) กีฬาพื้นบ้าน ระดับชาติ จังหวัด เขตพื้นที่ ปีละ ๑ ครั้ง
ดนตรี นาฏศิลป์ กีฬาไทย/พื้นบ้าน สพฐ. (OBEC) หลักการ 1. นักเรียนทุกคนได้รับการพัฒนาด้านดนตรี นาฏศิลป์ กีฬาไทย และพื้นบ้าน 2. กำหนดแนวทางกลางเพื่อนำสู่ความสำเร็จร่วมกันด้วยวิธีการที่หลากหลาย 3. จัดบูรณาการให้เข้ากับการเรียนการสอนปกติ 4. ให้เกิดการพัฒนาต่อยอดจากเดิมที่มีอยู่ 5. เสริมศักยภาพให้ถึงขีดสุด 6. การจัดสรรงบประมาณรวมที่จังหวัดตามฐานข้อมูลเขตพื้นที่ 7. สามารถวัดความก้าวหน้าทั้งระยะสั้นและระยะยาว
ดนตรี นาฏศิลป์ กีฬาไทย/พื้นบ้าน สพฐ. (OBEC) องค์ประกอบของโรงเรียนศูนย์ดนตรี / กีฬา 1. อาคารสถานที่พร้อมสำหรับการดำเนินการ และบริการเครือข่าย 2. สื่อวัสดุ อุปกรณ์ ครุภัณฑ์ 3. ครู /บุคลากร วิทยากร ภูมิปัญญาท้องถิ่น 4. หลักสูตรท้องถิ่น/แผนการจัดการเรียนรู้/คู่มือครู 5. โรงเรียนมีสมรรถนะและเป็นแหล่งเรียนรู้ให้บริการแก่โรงเรียนและชุมชนในตำบล 6. ประสานเครือข่ายและระดมทรัพยากรชุมชนให้การสนับสนุน 7. อื่นๆ ตามความเหมาะสม
ดนตรี นาฏศิลป์ กีฬาไทย/พื้นบ้าน กิจกรรมดนตรีนาฏศิลป์ไทยและพื้นบ้าน สพฐ. (OBEC) แนวทางดำเนินงาน กิจกรรมดนตรีนาฏศิลป์ไทยและพื้นบ้าน
ดนตรี นาฏศิลป์ กีฬาไทย/พื้นบ้าน สพฐ. (OBEC) วัตถุประสงค์ 1. เพื่อปลูกฝังจิตสำนึกความเป็นไทยให้เด็กและเยาวชน ตระหนัก ถึงความเป็นชาติไทย 2 . สร้างความเข้มแข็งให้แก่สถานศึกษาในการส่งเสริมการเรียนรู้ ในด้านดนตรี นาฏศิลป์ไทยและพื้นบ้าน
ดนตรี นาฏศิลป์ กีฬาไทย/พื้นบ้าน สพฐ. (OBEC) เป้าหมาย ด้านนักเรียน 1. เล่นเครื่องดนตรีไทย หรือพื้นบ้าน ได้อย่างน้อย อย่างละ 1 ชิ้น 2. แสดงนาฏศิลป์ไทยและพื้นบ้านได้อย่างน้อย อย่างละ 1 ประเภท 3. ร้องเพลงไทย และเพลงพื้นบ้านได้อย่างน้อย 3 เพลง ด้านโรงเรียน 1. โรงเรียนจำนวน 31,821 โรง มีเครื่องดนตรีไทย และเครื่องดนตรี พื้นบ้านสำหรับการเรียนการสอน ตามหลักสูตรแกนกลาง/ หลักสูตรท้องถิ่น 2. จัดตั้งโรงเรียนศูนย์ให้บริการการเรียนรู้ด้านดนตรีไทย ดนตรีพื้นบ้าน นาฏศิลป์ไทย และนาฏศิลป์พื้นบ้าน จำนวน 8,860 แห่ง (เท่ากับจำนวนตำบล ในเขตพื้นที่)
ดนตรี นาฏศิลป์ กีฬาไทย/พื้นบ้าน กิจกรรมกีฬาไทยและกีฬาพื้นบ้าน สพฐ. (OBEC) แนวทางดำเนินงาน กิจกรรมกีฬาไทยและกีฬาพื้นบ้าน
ดนตรี นาฏศิลป์ กีฬาไทย/พื้นบ้าน สพฐ. (OBEC) วัตถุประสงค์ 1. เพื่อปลูกฝังจิตสำนึกความเป็นไทยให้เด็กและเยาวชน ตระหนักถึงความเป็นชาติไทย 2. เพื่อพัฒนาศักยภาพทางด้านกีฬาไทย และกีฬาพื้นบ้านของเด็กและเยาวชนไทย อันจะเป็นพื้นฐานเพื่อต่อยอดการพัฒนาสู่ระดับสากล 3 . เพื่อสร้างความเข้มแข็งให้แก่สถานศึกษาในการส่งเสริมการเรียนรู้ในด้านกีฬาไทยและกีฬาพื้นบ้าน
ดนตรี นาฏศิลป์ กีฬาไทย/พื้นบ้าน สพฐ. (OBEC) เป้าหมาย ด้านนักเรียน 1. เล่นกีฬาไทย ได้อย่างน้อย 1 ประเภท 1. เล่นกีฬาพื้นบ้าน ได้อย่างน้อย 1 ประเภท 1. มีทักษะพื้นฐานในการใช้ศิลปะป้องกันตัว และช่วยเหลือผู้อื่น
ดนตรี นาฏศิลป์ กีฬาไทย/พื้นบ้าน สพฐ. (OBEC) เป้าหมาย ด้านโรงเรียน 1. โรงเรียนทุกโรงมีอุปกรณ์เครื่องเล่นกีฬาไทย และกีฬาพื้นบ้าน โดยเฉพาะ ที่ใช้สำหรับการป้องกันตัวเอง เช่น กระบี่กระบอง ดาบไทย สำหรับการเรียนการสอนตามเนื้อหาสาระศิลปะการป้องกันตัวของไทยที่กำหนด 2. จัดตั้งศูนย์การเรียนรู้กีฬาไทย และกีฬาพื้นบ้าน ตามองค์ประกอบที่กำหนด ในโรงเรียนตำบลละ 1 แห่ง (8,860 แห่ง) เพื่อเป็นแหล่งให้ความรู้ แสดง แข่งขัน สำหรับนักเรียน และชุมชน 3. โรงเรียนทุกโรงมีสนามกีฬาไทย หรือกีฬาพื้นบ้าน อย่างน้อย 1 สนาม
ดนตรี นาฏศิลป์ กีฬาไทย/พื้นบ้าน สพฐ. (OBEC) การจัดสรรงบประมาณ ปี/ประเภท ดนตรี กีฬา 2553 782,000,000 2554 712,500,000 2555 1,237,500,000 รวม 2,732,000,000 รวมทั้งสิ้น 5,464,000,000 บาท
ดนตรี นาฏศิลป์ กีฬาไทย/พื้นบ้าน สพฐ. (OBEC) แนวทางการจัดสรรงบประมาณ 1.โรงเรียนไม่น้อยกว่าโรงเรียนละ 10,000 บาท 2.สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาละ 20,0000 บาท 3. ศูนย์ฯ ละไม่น้อยกว่า 50,000 บาท 4. จัดเพิ่มเติมในส่วนที่เหลือเพื่อ - พัฒนาครู - ส่งเสริมนักเรียนที่มีความเป็นเลิศ - จัดสรรเพิ่มตามจำนวนนักเรียน, ขนาดโรงเรียน - จัดให้โรงเรียนที่มีผลงาน มีวงดนตรีไทยมาตรฐานขนาดใหญ่
ดนตรี นาฏศิลป์ กีฬาไทย/พื้นบ้าน สพฐ. (OBEC) ขอขอบคุณ
สพฐ (A) การกำหนดกรอบทิศทาง -กำหนดสาระหลักสูตรศิลปะการป้องกันตัว จัดทำแนวทางในการดำเนินงาน ประสานเครือข่าย จัดสรรงบประมาณ จัดทำโครงการ กิจกรรม ให้ความรู้ สนับสนุนสื่อฯ พัฒนาครู และจัดการเรียนการสอน กำหนดเกณฑ์คุณลักษณะในรายการที่จำเป็น จัดมหกรรมส่งเสริม/แลกเปลี่ยนเรียนรู้ ประชาสัมพันธ์ผลการดำเนินงาน ติดตาม ประเมินผล รายงานสาธารณชน
จังหวัด (B) จัดทำแผนกลยุทธ์ฯ ประชุมชี้แจง นโยบายแก่ผู้เกี่ยวข้อง ระดมทรัพยากร สร้างเครือข่ายการดำเนินงาน จัดมหกรรมส่งเสริม/แลกเปลี่ยนเรียนรู้ระดับจังหวัด
สพท. (C) การกำหนดกรอบทิศทาง -กำหนดสาระหลักสูตรท้องถิ่นศิลปะการป้องกันตัว /กีฬา ประชุมชี้แจง นโยบายแก่ผู้เกี่ยวข้อง จัดสรรงบประมาณ กำหนดศูนย์การเรียนรู้ สนับสนุนสื่อฯ ฝึกอบรมครู และสื่อในการจัดการเรียนการสอน สร้างเครือข่ายการดำเนินงาน การประชาสัมพันธ์ผลการดำเนินงาน จัดมหกรรมส่งเสริม/แลกเปลี่ยนเรียนรู้ ส่งตัวแทนระดับเขตเข้าแข่งขันระดับจังหวัด และระดับชาติ ระดมทรัพยากร ติดตาม ประเมินผล รายงานผล
สพท. (C/1) แจ้งรายชื่อโรงเรียนศูนย์ 1. ศูนย์ดนตรีไทย (ตำบล) 2. ศูนย์กีฬาไทย/พื้นบ้าน (ตำบล) 3. โรงเรียนเป็นเลิศดนตรีไทย (เขตพื้นที่)
โรงเรียน (D) พัฒนาระบบข้อมูลสารสนเทศ จัดทำหลักสูตรท้องถิ่น/แผนการจัดการเรียนรู้ ระดมทรัพยากร จัดหา สื่อ วัสดุ ครุภัณฑ์ จัดหาวิทยากร ครูภูมิปัญญาท้องถิ่นด้าน ดนตรี นาฏศิลป์ กีฬาพื้นบ้าน จัดกิจกรรมการเรียนการสอน สร้างเครือข่ายการดำเนินงาน ส่งนักเรียนเข้าร่วมการแข่งขันในทุกระดับ การประชาสัมพันธ์ผลการดำเนินงาน รายงานผลการดำเนินงาน