การกำหนดค่าเป้าหมายผลสัมฤทธิ์ของงาน

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA: Public Sector Management Quality Award)
Advertisements

มุ่งพัฒนาสู่การเป็นผู้นำการเปลี่ยนแปลงในสถานศึกษา
ส่วนที่ : 2 เรื่อง การวางแผน
การบริหารจัดการเพื่อ พัฒนาผลการปฏิบัติงาน
ระบบการประเมินเพื่อพัฒนาผลการปฏิบัติงาน บุคลากรสายสนับสนุน
การบริหารจัดการภาครัฐ ( PMQA: Public Sector Management Quality Award )
การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ
ศูนย์อนามัยที่ 4 ราชบุรี
เกณฑ์คุณภาพเครือข่ายบริการปฐมภูมิ
PMQA PMQA : STATUS ต่ำ กลาง สูง
การปฏิบัติและจัดการงาน ให้มีประสิทธิภาพ
เทคนิคการบริหารงานด้านการเงินและบัญชี
Workshop 1.
เรื่องสืบเนื่อง การวางแผนและบริหารโครงการสำหรับส่วน ราชการ
กระทำหน้าที่ตามเป้าหมายขององค์กรอย่างสมบูรณ์
การทำงานสนับสนุนงาน PP ของศูนย์วิชาการเขต
นวัตกรรม Innovation สุทธินันท์ สระทองหน.
การเปิดโอกาสให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็นและร่วมติดตาม ตรวจสอบผลการปฏิบัติราชการ วันที่ 29 มกราคม 2551.
ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
การถ่ายทอดตัวชี้วัดลงสู่ระดับสำนัก/กอง และระดับบุคคล
แล้วต้องทำอย่างไร ?.
การเขียนโครงการ.
- แผนงานที่ไม่มีโครงการจะเป็นแผนงานที่ไม่มีความสมบูรณ์ ไม่สามารถนำไปปฏิบัติเป็นรูปธรรม
โครงการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA : Public Sector Management Quality Award) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ กรมทรัพยากรน้ำบาดาล.
คำอธิบายแนวทางการให้คะแนน เอกสาร/หลักฐานการดำเนินงาน
การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
ระบบบริหารผลการปฏิบัติงาน Performance Management System: PMS และ หลักการจัดทำแผนพัฒนารายบุคคล Individual Development Plan : IDP.
Competency Phatthalung Provincial Center for Skill Development.
หมวด2 9 คำถาม.
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การโดยสรุป 1 หน้า
สรุปผลการเข้ารับการฝึกอบรม หลักสูตร “LEADERSHIP DEVELOPMENT PROGRAM” ของ นางนงลักษณ์ บุญก่อ ตำแหน่งนักวิเคราะห์นโยบายและแผนชำนาญการ สำนักตรวจราชการและติดตามประเมินผล.
การตรวจวัดสภาพ ผลการดำเนินงานองค์กร
ผลการดำเนินงานองค์กร (Performance Measurement)
ร้อยละความสำเร็จของการนำองค์ความรู้ที่มีอยู่ในองค์การไปสู่การปฏิบัติ
EdPEx Kick off.
กลุ่มที่ ๓ เรื่อง โรคไม่ติดต่อ
สรุปการประเมินกระบวนการทำงานส่งเสริมสุขภาพ เรื่อง แผนบูรณาการในภาพรวม
สรุปประเด็นการประชุมสัมมนากลุ่มย่อย
คำถามตามเกณฑ์ PMQA:105คำถาม หมวด1 12คำถาม.
คำถามตามเกณฑ์ PMQA:105คำถาม หมวด2 9คำถาม.
2 มิถุนายน อ. ศมณพร สุทธิบาก ผู้ช่วยคณบดีฝ่ายประกันคุณภาพและบริหารความเสี่ยง คณะวิทยาศาสตร์และวิศวกรรมศาสตร์
การนำเกณฑ์คุณภาพการศึกษาเพื่อการดำเนินงานที่เป็นเลิศไปพัฒนาองค์กร
โครงการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA : Public Sector Management Quality Award) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ
โครงการพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ (การส่งเสริมให้ส่วนราชการนำร่อง เข้าสู่การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ) เขียนรายงานหมวดที่ 7 : ผลลัพธ์การดำเนินการ.
“การถ่ายทอดตัวชี้วัด จากระดับองค์กรลงสู่ระดับบุคคล”
ระบบการประเมินองค์กร ตามแนวทางการพัฒนาคุณภาพ เครือข่ายบริการปฐมภูมิ
การถ่ายทอดตัวชี้วัดผลสำเร็จของงานจากบนลงล่างสำหรับนักทรัพยากรบุคคล
ประโยชน์ต่อส่วนราชการ
Balanced Scorecard ( BSC ).
การพัฒนาระบบการเรียนการสอน
ข้อเสนอแนะและปัจจัยแห่งความสำเร็จ
การติดตามการดำเนินงานตามแผนปฏิบัติการ ครั้งที่ 2
ตามเกณฑ์มาตรฐานโรงพยาบาลและบริการสุขภาพ
การธำรงรักษาระบบคุณภาพหลังการรับรอง
หน่วยที่ 1 ความหมายและความสำคัญของเครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัยตามแนวทางการทดสอบระดับนานาชาติ (PISA)
หมวด5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
เอกสารประกอบการประชุมคณะทำงานเพื่อจัดทำ ตัวชี้วัดและระบบการบริหาร ผลการ ปฏิบัติราชการ ของสำนักงานการปฏิรูปที่ดินเพื่อ เกษตรกรรม สำนักงานการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม.
จะเริ่มอย่างไร ? จุดเริ่มต้นของการปฏิรูประบบสุขภาพระดับอำเภอ อยู่ที่การกำหนดค่ากลางของความสำเร็จของโครงการสุขภาพระดับเขต เพื่อส่งมอบให้จังหวัดนำเข้าสู่กระบวนการ(1)
หมวด 6 การจัดการกระบวนการ Process Management
การดำเนินงานประจำปี2557 สท.
การจัดทำดัชนีชี้วัดและ การกำหนดค่าเป้าหมายผลสัมฤทธิ์ของงาน
การประเมินผลการปฏิบัติราชการแนวใหม่
ผลงานวิจัยเรื่อง “ การพัฒนาผลสัมฤทธิ์วิชาคณิตศาสตร์ประยุกต์ 3 เรื่องอัตราส่วนตรีโกณมิติโดยใช้ชุดฝึกทักษะ ของนักเรียนระดับชั้น ปวช.2 แผนกช่างอุตสาหกรรม.
ใช้สำหรับการปฏิบัติงานตั้งแต่วันที่ 1 เมษายน 2553 เป็นต้นไป
หลักการเขียนโครงการ.
รางวัลบริการภาครัฐแห่งชาติ (Thailand Public Service Awards)
การเขียนโครงการ.
จุดเน้น ด้านการบริหารจัดการ
‘การบริหารผล’ การปฏิบัติราชการ
และค่าเป้าหมายรายบุคคล
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การกำหนดค่าเป้าหมายผลสัมฤทธิ์ของงาน (Targets) ค่าเป้าหมาย (Targets) หมายถึง เป้าหมายใน เชิงปริมาณหรือคุณภาพ หรือทั้งสองส่วน ที่ทำให้แยกแยะได้ว่า การปฏิบัติงานประสบความสำเร็จตามตัวชี้วัด (KPIs) ที่กำหนดไว้หรือไม่ มากน้อยเพียงใด ภายในระยะเวลาที่ระบุไว้อย่างชัดเจน

การกำหนดค่าเป้าหมาย ระดับ 1 ค่าเป้าหมายระดับต่ำสุดที่ยอมรับได้ ระดับ 2 แบ่งออกเป็น 5 ระดับ ระดับ 1 ค่าเป้าหมายระดับต่ำสุดที่ยอมรับได้ ผู้ที่มีผลการประเมินผลสัมฤทธิ์ของงานในระดับนี้จะได้ หนึ่ง คะแนน ระดับ 2 ค่าเป้าหมายต่ำกว่ามาตรฐาน ผู้ที่มีผลการประเมินผลสัมฤทธิ์ของงานในระดับนี้จะได้ สอง คะแนน ระดับ 3 ค่าเป้าหมายระดับมาตรฐาน ผู้ที่มีผลการประเมินผลสัมฤทธิ์ของงานในระดับนี้จะได้ สาม คะแนน ระดับ 4 ค่าเป้าหมายระดับยากปานกลาง ผู้ที่มีผลการประเมินผลสัมฤทธิ์ของงานในระดับนี้จะได้ สี่ คะแนน ระดับ 5 ค่าเป้าหมายระดับยากมาก ผู้ที่มีผลการประเมินผลสัมฤทธิ์ของงานในระดับนี้จะได้ ห้า คะแนน

กรอบการกำหนดค่าเป้าหมายสำหรับการประเมินผลการปฏิบัติงาน ตามกรอบตัวชี้วัด ระดับ 1 ระดับ 2 ระดับ 3 ระดับ 4 ระดับ 5 มีการตั้งเป้าหมาย วางแผนดำเนินการและการกำหนดตัวชี้วัด แนวทาง การประเมินผลอย่างต่อเนื่อง และเป็นระบบ มีการปฏิบัติตามแผนการดำเนินการอย่างครบถ้วน ด้วยความรับผิดชอบ และความมุ่งมั่นตั้งใจอย่างชัดเจน ผลงานสำเร็จตามแผนที่กำหนดไว้ มีการติดตามประเมินผล สรุปบทเรียนการดำเนินงาน และ สร้างนวัตกรรม สู่การปรับปรุงแบบ ก้าวกระโดด รวมถึงมี การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ผลการปรับปรุงที่ดีขึ้น ในองค์กรอย่างต่อเนื่อง มีการบูรณาการกระบวนงาน (เป้า – แผน – ปฏิบัติ – วัด – ปรับ) ให้เกิดความสอดคล้องกันของระบบการจัดการ (วัด – ประเมิน – ปรับปรุง) โดยดำเนินการในแนวทางที่มุ่งสู่ผลสำเร็จ ตามความต้องการและเป้าหมายขององค์กร

เทคนิคการกำหนดน้ำหนัก กำหนดน้ำหนักมาก กำหนดน้ำหนักน้อย 1. เป็นผลลัพธ์ระยะยาว (Outcome) 2. เป็นงานหลักที่มีผลต่อความสำเร็จของหน่วยงาน 3. เป็นงานยาก หรืองานที่ต้องใช้ความรู้ ทักษะ ความสามารถสูง 4. เป็นงานที่คิดริเริ่มสร้างสรรค์ขึ้นใหม่ หรืองานเชิงกลยุทธ์ (Initiative) 1. เป็นผลลัพธ์ระยะสั้น (Output) 2. เป็นงานรองที่มีผลต่อความสำเร็จของหน่วยงานน้อยหรือไม่มีเลย 3. เป็นงานง่าย หรืองานที่ไม่ต้องใช้ความรู้ ทักษะ ความสามารถมากนัก 4. เป็นงานประจำ (Routine)

ข้อควรคำนึงในการกำหนดตัวชี้วัด และค่าเป้าหมายผลสัมฤทธิ์ของงาน S เจาะจง (Specific) มีความเจาะจง ว่าต้องการทำอะไร และ ผลลัพธ์ที่ต้องการคืออะไร M ต้องวัดผลที่เกิดขึ้นได้ ไม่เป็นภาระ ตัวชี้วัดไม่มากเกินไป วัดได้ (Measurable) A เห็นชอบ (Agreed Upon) ต้องได้รับการเห็นชอบซึ่งกันและกัน ระหว่างผู้ใต้บังคับบัญชา และ ผู้บังคับบัญชา R เป็นจริงได้ (Realistic) ต้องท้าทาย และสามารถทำสำเร็จได้ T ภายใต้กรอบเวลาที่ เหมาะสม (Time Bound) มีระยะเวลาในการทำงานที่เหมาะสม ไม่สั้นไม่ยาวเกินไป