การมีส่วนร่วมของประชาชนในการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ส่วนที่ : 2 เรื่อง การวางแผน
Advertisements

การเขียนรายงานการประชุม
การเขียนผลงานวิชาการ
ระบบการประเมินเพื่อพัฒนาผลการปฏิบัติงาน บุคลากรสายสนับสนุน
การออกแบบการวิจัยการเขียนเค้าโครงการวิจัย
การจัดทำรายงานการควบคุมภายใน ตามระเบียบคณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดิน
การลงทะเบียนเข้าร่วมประชุม
กองทุนพัฒนาไฟฟ้ากับ การพัฒนาชุมชนในพื้นที่รอบโรงไฟฟ้า
รสริน อมรพิทักษํพันธ์ สำนักวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม
โครงการจัดทำร่างยุทธศาสตร์ความมั่นคงของมนุษย์
Thesis รุ่น 1.
การประเมินความเสี่ยง เพื่อวางแผนการตรวจสอบ
CURADIO FEEDBACK SYSTEM TO PUBLIC
เรื่องสืบเนื่อง การวางแผนและบริหารโครงการสำหรับส่วน ราชการ
33701 ชุดวิชาแนวคิด ทฤษฎี และหลักการ รัฐประศาสนศาสตร์ หน่วยที่ 1
กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข 23 มกราคม 2557 ณ โรงแรมริชมอนด์ นนทบุรี
หมวด 3 การให้ความสำคัญกับผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย
การเปิดโอกาสให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็นและร่วมติดตาม ตรวจสอบผลการปฏิบัติราชการ วันที่ 29 มกราคม 2551.
ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยการรับฟังความคิดเห็นของประชาชน
ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยการรับฟังความคิดเห็นของประชาชน
การบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA: Public Sector Management Quality Award)
คุณภาพการประเมินนักเรียนและสถานศึกษา เพื่อรับรางวัลพระราชทาน
การติดตาม และประเมินโครงการ.
กระบวนการมีส่วนร่วมของประชาชน
งานเอกสารที่เกี่ยวกับการจัดการสัมมนา
การจัดการความรู้ (Knowledge Management)
การตรวจสอบ การตรวจสอบ คือ กระบวนการที่เป็นระบบ
พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการ
คำอธิบายแนวทางการให้คะแนน เอกสาร/หลักฐานการดำเนินงาน
การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
การพัฒนาองค์กรด้วยนวัตกรรม ทั้งภาครัฐและภาคเอกชน
การประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ กับกฎหมายที่เกี่ยวข้อง
แนวทางการดำเนินงานโครงการสำคัญ ปีงบประมาณพ.ศ.2554 กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร
“ประเมินสมรรถนะ Online”
การจัดทำคู่มือ การปฏิบัติงาน Work Manual
ยินดีต้อนรับผู้เข้าสัมมนาทุกท่าน
CS 6: การวัดความพึงพอใจและไม่พึงพอใจ
2 ผลการดำเนินงาน รอบ 9 เดือน ตัวชี้วัด / ข้อมูลพื้นฐาน ประกอบ ตัวชี้วัด น้ำหนั ก ( ร้อย ละ ) ผลการ ดำเนินงา น ค่า คะแนน ที่ได้ ค่า คะแนน ถ่วง น้ำหนัก.
แนวทางการจัดทำมาตรฐานความโปร่งใสของกรมควบคุมโรค ปีงบประมาณ พ.ศ.2557
การมีส่วนร่วมของประชาชน ในการบริหารราชการ
การประชุมคณะทำงานหมวด 4 ครั้งที่ 1/2553 วันพฤหัสบดีที่ 28 มกราคม 2553 เวลา น. ณ ห้องประชุม 3 ชั้น 3 สำนักงานนโยบายและแผนพลังงาน.
ประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เรื่อง กำหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ ระเบียบปฏิบัติและแนวทางในการจัดทำรายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมสำหรับโครงการหรือกิจการที่อาจก่อให้เกิดผลกระทบต่อชุมชน.
ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม เรื่อง การทำรายงานเกี่ยวกับการศึกษามาตรการป้องกันและแก้ไขผลกระทบต่อคุณภาพสิ่งแวดล้อมและความปลอดภัย พ.ศ ประกาศในราชกิจจานุเบกษาวันที่
การบริหารความเสี่ยง (Risk Management)
ตาม พ.ร.บ. การศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542
การนำเกณฑ์คุณภาพการศึกษาเพื่อการดำเนินงานที่เป็นเลิศไปพัฒนาองค์กร
การรายงานความก้าวหน้าในระบบ
Participation : Road to Success
โครงการพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ (การส่งเสริมให้ส่วนราชการนำร่อง เข้าสู่การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ) เขียนลักษณะสำคัญขององค์กร :
การเขียนรายงานผลการติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษา
การติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษา
และการประเมินแบบมีส่วนร่วม
ผลกระทบต่อสุขภาพจากมลพิษสิ่งแวดล้อม
มาตรฐานการควบคุมภายใน
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
การมีส่วนร่วมของประชาชนในการบริหารราชการ และ ตัวชี้วัด : ระดับความสำเร็จในการเปิดโอกาส ให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในการแสดง ความคิดเห็นและร่วมติดตามตรวจสอบผล.
หมวด5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
บทบาทหน้าที่ และคุณลักษณะ ของผู้ติดตามตรวจสอบและประเมินคุณภาพการศึกษา
เทคนิคการจัดเวทีประชาคม
กิจกรรมอำนวยความปลอดภัยขณะก่อสร้าง
นายอิศรพันธ์ กาญจนเรขา นักวิชาการสิ่งแวดล้อมชำนาญการพิเศษ
กรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร่ อก.
บทที่ 4 งานเอกสารที่เกี่ยวกับการจัดการสัมมนา
กฎหมายสิ่งแวดล้อม อาชีวอนามัยและความปลอดภัย 1 ประกาศสำนักงานนโยบายและแผน ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เรื่อง การนับระยะเวลาตามประกาศกระทรวง ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม.
สัมมนาทางการประกอบการธุรกิจ
ปิดกั้นชาวบ้าน! ความล้มเหลวของ Public Scoping เหมืองทอง
รางวัลบริการภาครัฐแห่งชาติ (Thailand Public Service Awards)
กลุ่ม สำนักอนามัย กรุงเทพมหานคร.
การมีส่วนร่วมของประชาชน ในการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม
พระราชบัญญัติการอำนวยความสะดวก ในการพิจารณาอนุญาตของทางราชการ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การมีส่วนร่วมของประชาชนในการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม ปิยนันท์ โศภนคณาภรณ์ ผู้อำนวยการ สำนักวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม การสัมมนา เรื่อง “การจัดกระบวนการมีส่วนร่วมของประชาชนอย่างมีความหมายที่แท้จริงในการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม” วันที่ 1 มิถุนายน 2555 ณ โรงแรมเดอะทวินทาวเวอร์ กรุงเทพฯ

Contents กฎหมายที่เกี่ยวข้อง 1 การดำเนินงานของ สผ. 2 3 การมีส่วนร่วมของประชาชน (PP) ใน EIA การดำเนินงานระยะต่อไป 4 www.onep.go.th/eia

1 กฎหมายที่เกี่ยวข้อง www.onep.go.th/eia

การวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมในประเทศไทย ประกาศประเภทและขนาดโครงการเพิ่มเติมจาก 22 เป็น 34 ประเภท ประเทศไทยประกาศใช้ พ.ร.บ. ส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม แห่งชาติ พ.ศ. 2518 พ.ศ. 2552 จดทะเบียนนิติบุคคล ทำรายงาน พ.ศ. 2535 พ.ศ. 2518 พ.ศ. 2553 พ.ศ. 2527 พ.ร.บ. ส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ. 2535 มีการพัฒนาและปรับปรุงขั้นตอนการพิจารณารายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม (22 ประเภท) ประกาศประเภทและขนาดโครงการรุนแรงตามมาตรา 67 ของรัฐธรรมนูญปี 50 จำนวน 11 รายการ พ.ศ. 2524 ประกาศกำหนดประเภทและขนาดทำรายงาน (10 ประเภท)

2 การดำเนินงานของ สผ. www.onep.go.th/eia

การ ดำเนินงาน 2549 สผ. ร่วมกับ World Bank ศึกษาแนวทางการมีส่วนร่วมของประชาชนและการประเมินผลกระทบทางสังคมในการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม 2553 สผ. ดำเนินโครงการศึกษาทบทวนเพื่อพัฒนาแนวทางการมีส่วนร่วมของประชาชนและการประเมินผลกระทบทางสังคม 2552 - 2553 ประกาศ ทส. ระบุว่าการจัดทำรายงาน EIA และ EHIA ให้ดำเนินการตาม แนวทางการมีส่วนร่วมฯ ของ สผ. www.onep.go.th/eia

2554 ปรับปรุงองค์ประกอบของคณะกรรมการผู้ชำนาญการฯ ทั้ง 10 ชุด ให้มีผู้ทรงคุณวุฒิด้านสังคมและการมีส่วนร่วมของประชาชน www.onep.go.th/eia

การมีส่วนร่วมของประชาชน (PP) ใน EIA 3 การมีส่วนร่วมของประชาชน (PP) ใน EIA www.onep.go.th/eia

PP in EIA การมีส่วนร่วมของประชาชนใน EIA มีวัตถุประสงค์เพื่อให้ประชาชน องค์กรพัฒนาเอกชน และหน่วยงานต่างๆ ที่ได้รับผลกระทบจากโครงการร่วมแสดงความคิดเห็น นำเสนอข้อมูล ข้อโต้แย้ง หรือข้อเสนอแนะ เป็นกิจกรรมที่จัดให้มีขึ้นในกระบวนการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อมของโครงการ www.onep.go.th/eia

หลักการสำคัญเพื่อให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วม ต้องเกิดจากความเต็มใจและความตั้งใจ ต้องตั้งอยู่บนพื้นฐานของความเสมอภาค และขีดความสามารถของแต่ละบุคคลที่จะเข้ามามีส่วนร่วม ต้องตั้งอยู่บนพื้นฐานของเสรีภาพ/อิสรภาพ www.onep.go.th/eia

ประโยชน์ของการดำเนินการมีส่วนร่วมของประชาชน 1. ทำให้การตัดสินใจมีความรอบคอบรัดกุม มากขึ้น 2. การลดค่าใช้จ่ายและการสูญเสียเวลา และทำให้การตัดสินใจนั้นได้รับการยอมรับ 3. การสร้างฉันทามติ ลดความขัดแย้งทาง การเมืองและเกิดความชอบธรรมในการ ตัดสินใจของรัฐ www.onep.go.th/eia

ประโยชน์ของการดำเนินการมีส่วนร่วมของประชาชน 4. ความง่ายในการนำไปปฏิบัติ สร้างให้ประชาชน เกิดความรู้สึกเป็นเจ้าของและมีความกระตือรือร้น ในการช่วยให้เกิดผลในทางปฏิบัติ 5. การมีส่วนร่วมตั้งแต่ต้นสามารถลดการเผชิญหน้า และความขัดแย้งที่รุนแรงได้ 6. ช่วยทำให้เจ้าหน้าที่ของรัฐมีความใกล้ชิดกับ ประชาชนและรับทราบข้อห่วงกังวลของ ประชาชนและมีความตระหนักในการตอบสนอง ต่อความห่วงกังวลของประชาชน www.onep.go.th/eia

1. ทราบข้อเท็จจริงเกี่ยวกับโครงการ ประโยชน์ของการมีส่วนร่วมของประชาชน 1. ทราบข้อเท็จจริงเกี่ยวกับโครงการ 2. ทราบผลกระทบ ลักษณะ และ ระดับของผลกระทบ ใครได้รับผลกระทบ 3. สามารถแสดงข้อมูล ข้อโต้แย้ง ต่อขอบเขตการศึกษา และ EIA ได้ 4. สร้างความเข้าใจให้ประชาชน 5. ทราบข้อคิดเห็นของประชาชนและมีข้อมูล รอบด้านประกอบการตัดสินใจ www.onep.go.th/eia

2. จำแนกผู้มีส่วนได้เสีย 3. จัดทำแผนการมีส่วนร่วมของประชาชน ขั้นตอนการดำเนินงาน 1. จำแนกหัวข้อหรือประเด็นหลักที่ต้องให้ ความสำคัญในด้านสังคมและการมีส่วนร่วม 2. จำแนกผู้มีส่วนได้เสีย 3. จัดทำแผนการมีส่วนร่วมของประชาชน 4. ให้ข้อมูลกับสาธารณะ (Public Information) 5. ดำเนินกิจกรรมการมีส่วนร่วม กับกลุ่มผู้มีส่วน ได้เสียตลอดกระบวนการ 6. จัดทำแผนการติดตามผลอย่างมีส่วนร่วม www.onep.go.th/eia

การบริหารจัดการการมีส่วนร่วมของประชาชน www.onep.go.th/eia

แนวทางการบริหารจัดการ หลักการพื้นฐานของการจัดการมีส่วนร่วมของประชาชน ประกอบด้วย 4 S Starting Early : เริ่มต้นตั้งแต่ระยะแรก Stakeholders : ผู้ที่ได้รับผลกระทบหรือผู้มี ส่วนได้ส่วนเสีย Sincerity : จริงใจ เปิดเผย ซื่อสัตย์ ปราศจากอคติ Suitability : วิธีการที่เหมาะสม www.onep.go.th/eia

1 2 การดำเนินการการมีส่วนร่วมของประชาชน กรณี EIA ในระหว่าง เริ่มต้น โครงการ โดยรับฟังความคิดเห็นต่อร่างข้อเสนอ โครงการและขอบเขตการศึกษา 1 โดยรับฟังความคิดเห็น การทำ ประชาพิจารณ์ หรือใช้เทคนิค การมีส่วนร่วมอื่นๆ ที่เหมาะสม ในระหว่าง เตรียมจัดทำ รายงาน 2 ภายหลังจากโครงการอนุมัติแล้ว เจ้าของโครงการต้องให้ข้อมูลและรับฟังความเห็นตลอดการก่อสร้างโครงการ www.onep.go.th/eia

การดำเนินการการมีส่วนร่วมของประชาชน กรณี IEE ให้ข้อมูล กำหนดมาตรการ เมื่อเห็นชอบแล้ว กำหนดมาตรการ ป้องกันและแก้ไข ผลกระทบสิ่งแวดล้อม พร้อมเปิดเผยข้อมูล ให้ประชาชนทราบ เจ้าของโครงการต้อง ให้ข้อมูลกับประชาชน และหน่วยงาน ที่เกี่ยวข้อง ให้ข้อมูลข่าวสารกับประชาชนและรับฟังความคิดเห็นจากประชาชนตั้งแต่เริ่มต้นโครงการ ภายหลังจากโครงการอนุมัติแล้ว เจ้าของโครงการต้องให้ข้อมูลและรับฟังความเห็นตลอดการก่อสร้างโครงการ www.onep.go.th/eia

กรณี EHIA ภายใน 15 วัน 15 วัน สำรวจและรับฟังความเห็น เช่น 1 เดือน แจ้ง สผ. สช. สาธารณชน ทราบ (แจ้งสาธารณชนทราบ ผ่านช่องทาง การสื่อสารสาธารณะ ไม่น้อยกว่า 3 ช่องทาง) ภาคผนวก ค 1 เปิดเผยเอกสารโครงการ 15 วัน จัดเวที Public Scoping รับฟังความเห็นต่อเนื่อง ผ่าน 2 ช่องทาง สรุปความคิดเห็น และนำเสนอขอบเขต และแนวทาง EHIA ส่ง สผ. สช (ไม่กำหนดเวลา) สำรวจและรับฟังความเห็น เช่น สัมภาษณ์รายบุคคล - แสดงความเห็นทางโทรศัพท์ สนทนากลุ่มย่อย - การประชุมเชิงปฏิบัติการ เสร็จสิ้น ภายใน 15 วัน สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็น 15 วัน แสดงรายงานไว้ตามจุดที่กำหนด ภาคผนวก ค 2 ภาคผนวก ค 3 1 เดือน แจ้ง สผ. สช. สาธารณชน ทราบ (แจ้งสาธารณชนทราบ ผ่านช่องทาง การสื่อสารสาธารณะ ไม่น้อยกว่า 3 ช่องทาง) เปิดเผยเอกสารโครงการ 15 วัน จัดเวที Public Review รับฟังความเห็นต่อเนื่อง ผ่าน 2 ช่องทาง สรุปความคิดเห็น และนำเสนอขอบเขต และแนวทาง EHIA ส่ง สผ. สช (ไม่กำหนดเวลา)

การดำเนินงานในระยะต่อไป 6 การดำเนินงานในระยะต่อไป www.onep.go.th/eia

การดำเนินงานระยะต่อไป พัฒนาและปรับปรุงแนวทางการ มีส่วนร่วมของประชาชนและการประเมินผลกระทบทางสังคมในการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม www.onep.go.th/eia

Thank You! www.onep.go.th/eia 02-2656500 ต่อ 6832, 6834