การมีส่วนร่วมของประชาชนในการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม ปิยนันท์ โศภนคณาภรณ์ ผู้อำนวยการ สำนักวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม การสัมมนา เรื่อง “การจัดกระบวนการมีส่วนร่วมของประชาชนอย่างมีความหมายที่แท้จริงในการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม” วันที่ 1 มิถุนายน 2555 ณ โรงแรมเดอะทวินทาวเวอร์ กรุงเทพฯ
Contents กฎหมายที่เกี่ยวข้อง 1 การดำเนินงานของ สผ. 2 3 การมีส่วนร่วมของประชาชน (PP) ใน EIA การดำเนินงานระยะต่อไป 4 www.onep.go.th/eia
1 กฎหมายที่เกี่ยวข้อง www.onep.go.th/eia
การวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมในประเทศไทย ประกาศประเภทและขนาดโครงการเพิ่มเติมจาก 22 เป็น 34 ประเภท ประเทศไทยประกาศใช้ พ.ร.บ. ส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม แห่งชาติ พ.ศ. 2518 พ.ศ. 2552 จดทะเบียนนิติบุคคล ทำรายงาน พ.ศ. 2535 พ.ศ. 2518 พ.ศ. 2553 พ.ศ. 2527 พ.ร.บ. ส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ. 2535 มีการพัฒนาและปรับปรุงขั้นตอนการพิจารณารายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม (22 ประเภท) ประกาศประเภทและขนาดโครงการรุนแรงตามมาตรา 67 ของรัฐธรรมนูญปี 50 จำนวน 11 รายการ พ.ศ. 2524 ประกาศกำหนดประเภทและขนาดทำรายงาน (10 ประเภท)
2 การดำเนินงานของ สผ. www.onep.go.th/eia
การ ดำเนินงาน 2549 สผ. ร่วมกับ World Bank ศึกษาแนวทางการมีส่วนร่วมของประชาชนและการประเมินผลกระทบทางสังคมในการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม 2553 สผ. ดำเนินโครงการศึกษาทบทวนเพื่อพัฒนาแนวทางการมีส่วนร่วมของประชาชนและการประเมินผลกระทบทางสังคม 2552 - 2553 ประกาศ ทส. ระบุว่าการจัดทำรายงาน EIA และ EHIA ให้ดำเนินการตาม แนวทางการมีส่วนร่วมฯ ของ สผ. www.onep.go.th/eia
2554 ปรับปรุงองค์ประกอบของคณะกรรมการผู้ชำนาญการฯ ทั้ง 10 ชุด ให้มีผู้ทรงคุณวุฒิด้านสังคมและการมีส่วนร่วมของประชาชน www.onep.go.th/eia
การมีส่วนร่วมของประชาชน (PP) ใน EIA 3 การมีส่วนร่วมของประชาชน (PP) ใน EIA www.onep.go.th/eia
PP in EIA การมีส่วนร่วมของประชาชนใน EIA มีวัตถุประสงค์เพื่อให้ประชาชน องค์กรพัฒนาเอกชน และหน่วยงานต่างๆ ที่ได้รับผลกระทบจากโครงการร่วมแสดงความคิดเห็น นำเสนอข้อมูล ข้อโต้แย้ง หรือข้อเสนอแนะ เป็นกิจกรรมที่จัดให้มีขึ้นในกระบวนการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อมของโครงการ www.onep.go.th/eia
หลักการสำคัญเพื่อให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วม ต้องเกิดจากความเต็มใจและความตั้งใจ ต้องตั้งอยู่บนพื้นฐานของความเสมอภาค และขีดความสามารถของแต่ละบุคคลที่จะเข้ามามีส่วนร่วม ต้องตั้งอยู่บนพื้นฐานของเสรีภาพ/อิสรภาพ www.onep.go.th/eia
ประโยชน์ของการดำเนินการมีส่วนร่วมของประชาชน 1. ทำให้การตัดสินใจมีความรอบคอบรัดกุม มากขึ้น 2. การลดค่าใช้จ่ายและการสูญเสียเวลา และทำให้การตัดสินใจนั้นได้รับการยอมรับ 3. การสร้างฉันทามติ ลดความขัดแย้งทาง การเมืองและเกิดความชอบธรรมในการ ตัดสินใจของรัฐ www.onep.go.th/eia
ประโยชน์ของการดำเนินการมีส่วนร่วมของประชาชน 4. ความง่ายในการนำไปปฏิบัติ สร้างให้ประชาชน เกิดความรู้สึกเป็นเจ้าของและมีความกระตือรือร้น ในการช่วยให้เกิดผลในทางปฏิบัติ 5. การมีส่วนร่วมตั้งแต่ต้นสามารถลดการเผชิญหน้า และความขัดแย้งที่รุนแรงได้ 6. ช่วยทำให้เจ้าหน้าที่ของรัฐมีความใกล้ชิดกับ ประชาชนและรับทราบข้อห่วงกังวลของ ประชาชนและมีความตระหนักในการตอบสนอง ต่อความห่วงกังวลของประชาชน www.onep.go.th/eia
1. ทราบข้อเท็จจริงเกี่ยวกับโครงการ ประโยชน์ของการมีส่วนร่วมของประชาชน 1. ทราบข้อเท็จจริงเกี่ยวกับโครงการ 2. ทราบผลกระทบ ลักษณะ และ ระดับของผลกระทบ ใครได้รับผลกระทบ 3. สามารถแสดงข้อมูล ข้อโต้แย้ง ต่อขอบเขตการศึกษา และ EIA ได้ 4. สร้างความเข้าใจให้ประชาชน 5. ทราบข้อคิดเห็นของประชาชนและมีข้อมูล รอบด้านประกอบการตัดสินใจ www.onep.go.th/eia
2. จำแนกผู้มีส่วนได้เสีย 3. จัดทำแผนการมีส่วนร่วมของประชาชน ขั้นตอนการดำเนินงาน 1. จำแนกหัวข้อหรือประเด็นหลักที่ต้องให้ ความสำคัญในด้านสังคมและการมีส่วนร่วม 2. จำแนกผู้มีส่วนได้เสีย 3. จัดทำแผนการมีส่วนร่วมของประชาชน 4. ให้ข้อมูลกับสาธารณะ (Public Information) 5. ดำเนินกิจกรรมการมีส่วนร่วม กับกลุ่มผู้มีส่วน ได้เสียตลอดกระบวนการ 6. จัดทำแผนการติดตามผลอย่างมีส่วนร่วม www.onep.go.th/eia
การบริหารจัดการการมีส่วนร่วมของประชาชน www.onep.go.th/eia
แนวทางการบริหารจัดการ หลักการพื้นฐานของการจัดการมีส่วนร่วมของประชาชน ประกอบด้วย 4 S Starting Early : เริ่มต้นตั้งแต่ระยะแรก Stakeholders : ผู้ที่ได้รับผลกระทบหรือผู้มี ส่วนได้ส่วนเสีย Sincerity : จริงใจ เปิดเผย ซื่อสัตย์ ปราศจากอคติ Suitability : วิธีการที่เหมาะสม www.onep.go.th/eia
1 2 การดำเนินการการมีส่วนร่วมของประชาชน กรณี EIA ในระหว่าง เริ่มต้น โครงการ โดยรับฟังความคิดเห็นต่อร่างข้อเสนอ โครงการและขอบเขตการศึกษา 1 โดยรับฟังความคิดเห็น การทำ ประชาพิจารณ์ หรือใช้เทคนิค การมีส่วนร่วมอื่นๆ ที่เหมาะสม ในระหว่าง เตรียมจัดทำ รายงาน 2 ภายหลังจากโครงการอนุมัติแล้ว เจ้าของโครงการต้องให้ข้อมูลและรับฟังความเห็นตลอดการก่อสร้างโครงการ www.onep.go.th/eia
การดำเนินการการมีส่วนร่วมของประชาชน กรณี IEE ให้ข้อมูล กำหนดมาตรการ เมื่อเห็นชอบแล้ว กำหนดมาตรการ ป้องกันและแก้ไข ผลกระทบสิ่งแวดล้อม พร้อมเปิดเผยข้อมูล ให้ประชาชนทราบ เจ้าของโครงการต้อง ให้ข้อมูลกับประชาชน และหน่วยงาน ที่เกี่ยวข้อง ให้ข้อมูลข่าวสารกับประชาชนและรับฟังความคิดเห็นจากประชาชนตั้งแต่เริ่มต้นโครงการ ภายหลังจากโครงการอนุมัติแล้ว เจ้าของโครงการต้องให้ข้อมูลและรับฟังความเห็นตลอดการก่อสร้างโครงการ www.onep.go.th/eia
กรณี EHIA ภายใน 15 วัน 15 วัน สำรวจและรับฟังความเห็น เช่น 1 เดือน แจ้ง สผ. สช. สาธารณชน ทราบ (แจ้งสาธารณชนทราบ ผ่านช่องทาง การสื่อสารสาธารณะ ไม่น้อยกว่า 3 ช่องทาง) ภาคผนวก ค 1 เปิดเผยเอกสารโครงการ 15 วัน จัดเวที Public Scoping รับฟังความเห็นต่อเนื่อง ผ่าน 2 ช่องทาง สรุปความคิดเห็น และนำเสนอขอบเขต และแนวทาง EHIA ส่ง สผ. สช (ไม่กำหนดเวลา) สำรวจและรับฟังความเห็น เช่น สัมภาษณ์รายบุคคล - แสดงความเห็นทางโทรศัพท์ สนทนากลุ่มย่อย - การประชุมเชิงปฏิบัติการ เสร็จสิ้น ภายใน 15 วัน สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็น 15 วัน แสดงรายงานไว้ตามจุดที่กำหนด ภาคผนวก ค 2 ภาคผนวก ค 3 1 เดือน แจ้ง สผ. สช. สาธารณชน ทราบ (แจ้งสาธารณชนทราบ ผ่านช่องทาง การสื่อสารสาธารณะ ไม่น้อยกว่า 3 ช่องทาง) เปิดเผยเอกสารโครงการ 15 วัน จัดเวที Public Review รับฟังความเห็นต่อเนื่อง ผ่าน 2 ช่องทาง สรุปความคิดเห็น และนำเสนอขอบเขต และแนวทาง EHIA ส่ง สผ. สช (ไม่กำหนดเวลา)
การดำเนินงานในระยะต่อไป 6 การดำเนินงานในระยะต่อไป www.onep.go.th/eia
การดำเนินงานระยะต่อไป พัฒนาและปรับปรุงแนวทางการ มีส่วนร่วมของประชาชนและการประเมินผลกระทบทางสังคมในการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม www.onep.go.th/eia
Thank You! www.onep.go.th/eia 02-2656500 ต่อ 6832, 6834