ก้าวต่อไป ภายใต้กระบวนการใหม่ ไทยกับการเจรจาเปิดเสรีทางการค้า (FTA) ปัจจุบันและย่างก้าวต่อไป ก้าวต่อไป ภายใต้กระบวนการใหม่ ดร. คณิศ แสงสุพรรณ ผู้อำนวยการ สถาบันวิจัยนโยบายเศรษฐกิจการคลัง (สวค.)
ประเทศไทย จะเตรียมตัวและปรับตัวรองรับการเปลี่ยนแปลง อย่างไร 5 ปี 2010 10 ปี 2015 15 ปี 2020 คน Experts & Skilled & Temporally Unskilled Labour ทุน FDI /GATS/ Bank Loan Capital Market/ Asia Bond Market Asia Financial Integration Robotic & Bio & Nano เทคโนโลยี Information & Computing Technology DOHA/ Regional FTA Total Trade Liberalization สินค้า WTO/ FTA East Asia Economic Community ประเทศไทย จะเตรียมตัวและปรับตัวรองรับการเปลี่ยนแปลง อย่างไร
เศรษฐกิจโลก เกษตร อุตสาหกรรม บริการ ทรัพย์สินของประเทศ คน+ความรู้ เศรษฐกิจมหภาค (ดอกเบี้ย อัตราแลกเปลี่ยน เงินเฟ้อ ดุลการคลัง) ภาคการเงิน ภาคการผลิต เกษตร อุตสาหกรรม บริการ ทรัพย์สินของประเทศ คน+ความรู้ เทคโนโลยี ปัจจัยพื้นฐาน ระบบเศรษฐกิจเป็นการเชื่อมโยงส่วนต่างๆ ให้มีชีวิตร่วมกัน ดูที่ละส่วนไม่ได้ แก้ปัญหาแยกส่วนไม่ได้
ลักษณะของ Emerging Economy การค้าระหว่างประเทศสูงขึ้นทั้ง นำเข้าและส่งออก ปรับความคิด –ส่งออกมาก นำเข้าน้อย ไม่ใช่จะดีเสนอไป –สร้าง Value -- เข้าสู่ Regional and Global Value Chain การลงทุนทั้งมีการลงทุนจากต่างประเทศ และ ไปลงทุนในต่างประเทศ ปรับความคิด – รับ FDI อย่างเดียวไม่พอต้องไปลงทุนต่างประเทศด้วย --เข้าสู่ การย้ายฐานการผลิตโดยเฉพาะที่แข่งขันไม่ได้ เงินทุนทั้งไหลเข้าและ นำทุนไปกระจายการลงทุนในต่างประเทศ ปรับความคิด – เงินไหลเข้ามาก ๆ เกินดุลบัญชีเงินทุน ไม่ใช่จะดีเสมอไป -- เข้าสู่การเคลื่อนย้ายเงินทุนเข้า-ออก อย่างเป็นระบบมากขึ้น
3000 $US Barrier 3066 (1996) 3,212 (2006) ที่ 3000+$US น่าสนใจลงทุน ประเทศเริ่มมีความหมายต่อเศรษฐกิจโลก
สรุปภาพรวมการจัดทำ FTA กรอบเวลาการลดภาษีภายใต้ AFTA ประเทศ สินค้าอุตสาหกรรมและ เกษตรแปรรูป สินค้าเกษตรไม่แปรรูป สินค้าลดภาษี สินค้ายกเว้นลดภาษีชั่วคราว สินค้าอ่อนไหว สมาชิกเดิม 2536-2546* 2539-2546 2540-2546 2544-2553 เวียดนาม 2539-2549 2542-2549 2543-2549 2547-2556 ลาวและพม่า 2541-2551 2544-2551 2545-2551 2549-2558 กัมพูชา 2543-2553 2546-2553 2547-2553 2551-2560 ที่มา: กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ * ปีที่เริ่มลด – ปีที่อัตราภาษีเหลือ 0 -5%
สรุปภาพรวมการจัดทำ FTA สินค้า ลดภาษีทันที ปกติ อ่อนไหว อ่อนไหวสูง TAFTA 2548 (ม.ค.) 2553 2558 2563 TNZCEP 2548 (ก.ค.) ACFTA 2561 (0 -5%) 2558 (ลด 50%) JTEPA 2550 (พ.ย.) 2555 2560 2565 TIFTA (สินค้า 82รายการ) 2553*(กย. 2547) 2558* 2568* - *กำลังอยู่ระหว่างเจรจา
ความสำคัญและความเร่งด่วนของสินค้าที่ได้รับผลกระทบ การรองรับการเปิดเสรีการค้า ก่อนเจรจา ระหว่างเจรจา หลังเจรจา ผลกระทบทางบวก ผลบวก ต้อง มากกว่าผลลบมาก ผลกระทบทางลบ ความสำคัญและความเร่งด่วนของสินค้าที่ได้รับผลกระทบ กลุ่มผู้ได้รับผลกระทบ และพื้นที่ มาตรการรองรับผลกระทบ รูปแบบความช่วยเหลือที่ไม่ขัด WTO และ FTAs เกณฑ์:การช่วยเหลือ กองทุนปรับโครงสร้าง การเปิดเสรีการค้า เก็บจาก ผู้ได้ประโยชน์ รัฐบาลจ่ายก่อน
ยุทธศาสตร์การเปิดเสรีการค้า
FTA บนถนนการเมืองใหม่ รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย ปี 2550: มาตรา 190 หนังสือสัญญาใดมีผลกระทบต่อความมั่นคงทางเศรษฐกิจ หรือสังคมของประเทศอย่างกว้างขวาง หรือมีผลผูกพันด้านการค้า การลงทุน หรืองบประมาณของประเทศอย่างมีนัยสำคัญ ต้องได้รับความเห็นชอบของรัฐสภา ก่อนดำเนินการเพื่อทำหนังสือสัญญากับนานาประเทศ หรือ องค์การระหว่างประเทศ ครม. ต้องให้ข้อมูล และจัดให้มีการรับฟังความคิดเห็นของประชาชน และต้องชี้แจงต่อรัฐสภา และให้ ครม. เสนอกรอบการเจรจาต่อรัฐสภาเพื่อขอความเห็นชอบ
FTA บนถนนการเมืองใหม่ รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย ปี 2550: มาตรา 190 เมื่อลงนามก่อนแสดงเจตนาให้มีผลผูกพัน ครม. ต้องให้ประชาชนสามารถเข้าถึงรายละเอียดของหนังสือสัญญา ให้มีกฏหมายว่าด้วยการกำหนดขั้นตอนและวิธีการจัดทำหนังสือสัญญาที่มีผลกระทบต่อความมั่นคงทางเศรษฐกิจและสังคม หรือมีผลผูกพันด้านการค้าหรือการลงทุนอย่างมีนัยสำคัญ รวมทั้งการแก้ไขเยียวยาผู้ได้รับผลกระทบจากการปฏิบัติตามหนังสือสัญญาดังกล่าว
สรุป การเปิดเสรีการค้าเป็นยุทธศาสตร์ของประเทศในการสร้างเศรษฐกิจ ยุทธศาสตร์การเปิดเสรีทางการค้า WTO เป็นประโยชน์กับประเทศเล็กและกำลังพัฒนา FTA เป็น Focus ของประเทศ Emerging Economy (มีเป้าหมายชัดเจน) ต้องมีการศึกษา-วางแผน-ประสานงาน จะทำกับใคร (รู้พอสมควร) –อยากได้อะไร –ต้องเสียอะไร กองทุนและกระบวนการเพื่อการปรับตัวจาก FTA ที่มีประสิทธิภาพ ทำตามรัฐธรรมนูญ เสนอต่อสภา ชี้แจง และรับฟังความคิดเห็น