กรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการของกรม ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2557

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
GES : มิติภายในด้านการพัฒนาองค์การ
Advertisements

สุปิยา ลิมป์กฤตนุวัตร์ กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร
ส่วนที่ : 2 เรื่อง การวางแผน
ประเด็นคำถามในการประชุมชี้แจงกรอบการประเมินผลส่วนราชการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ วันที่ 9 มกราคม 2557.
กรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการของกระทรวง ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2557
โครงการฝึกอบรม การบริหารทรัพยากรบุคคล เชิงยุทธศาสตร์การพัฒนา จังหวัดอุดรธานี วันที่ ๑๙ มีนาคม ๒๕๕๖ ณ โรงแรมต้นคูณ อำเภอเมืองอุดรธานี
รายละเอียดตัวชี้วัดที่ 10 (จังหวัด)
แผนปฏิบัติการ ปีงบประมาณ พ.ศ นำไปสู่การปฏิบัติ
เรื่องสืบเนื่อง การวางแผนและบริหารโครงการสำหรับส่วน ราชการ
รายงานและการประเมินผล การปฏิบัติราชการตามคำรับรองฯ ของหน่วยงาน
คำอธิบาย ระดับความสำเร็จของการพัฒนาสมรรถนะของบุคลากร
ตัวชี้วัดที่ 2 ร้อยละความสำเร็จ ของการเบิกจ่ายเงินงบประมาณ
คำอธิบาย ความสำเร็จของการดำเนินการตามมาตรการ
หลักเกณฑ์และวิธีการประเมินผล การปฏิบัติราชการข้าราชการและ พนักงานราชการกรมควบคุมโรคประจำปีงบประมาณ 2557.
1. ลักษณะองค์กร 1ก. ลักษณะพื้นฐาน ของส่วนราชการ 1ก(1) พันธกิจ
คำรับรองการปฏิบัติราชการ
การถ่ายทอดตัวชี้วัดลงสู่ระดับสำนัก/กอง และระดับบุคคล
ขอต้อนรับคณะผู้ตรวจประเมินฯ
การบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA: Public Sector Management Quality Award)
ภาพรวมแผนผังเชิงกลยุทธ์ (Strategy Map)
การติดตามประเมินผลการ ปฏิบัติราชการ (Site Visit II) รอบ 12 เดือน ประจำปีงบประมาณ พ. ศ วันที่ 6 กุมภาพันธ์ 2551 ณ ห้องประชุมลำพอง 2 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต.
การติดตามประเมินผลการ ปฏิบัติราชการ (Site Visit II) รอบ 12 เดือน ประจำปีงบประมาณ พ. ศ วันที่ 23 ธันวาคม 2551 ณ ห้องประชุมศาลาชื่นอารมณ์
การพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ
การประชุมชี้แจง (ร่าง)กรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการ ของกรมส่งเสริมสหกรณ์ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ วันพฤหัสบดีที่ 10 เมษายน 2557 เวลา น. ณ ห้องประชุม.
แผนที่ยุทธศาสตร์สำนักพัฒนาโครงสร้างและระบบบริหารงานบุคคล
คำอธิบายแนวทางการให้คะแนน เอกสาร/หลักฐานการดำเนินงาน
การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
การเสนอกระบวนงานบริการเพื่อขอรับการประเมิน
หมวด2 9 คำถาม.
แนวทางการดำเนินงานโครงการสำคัญ ปีงบประมาณพ.ศ.2554 กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร
PrtScrn หน้าปก.
คำอธิบาย พิจารณาจากระดับความสำเร็จของการดำเนินการ
การบริหารโดยมุ่งผลสัมฤทธิ์ Results Based Management (RBM)
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การโดยสรุป 1 หน้า
พัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการองค์การตามหลักธรรมาภิบาล เสริมสร้างมาตรการ / กลไก เพื่อรองรับการ เข้าสู่ประชาคมอาเซียน S1 มีการให้บริการข้อมูลเพื่อรองรับ ประชาคมอาเซียน.
CS 6: การวัดความพึงพอใจและไม่พึงพอใจ
ตัวชี้วัดตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ หน่วยงานภายในกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน
แนวทางการจัดทำมาตรฐานความโปร่งใสของกรมควบคุมโรค ปีงบประมาณ พ.ศ.2557
การประชุมคณะทำงานหมวด 4 ครั้งที่ 1/2554 (ครั้งที่ 1)
การประชุมคณะทำงานหมวด 4 ครั้งที่ 1/2553 วันพฤหัสบดีที่ 28 มกราคม 2553 เวลา น. ณ ห้องประชุม 3 ชั้น 3 สำนักงานนโยบายและแผนพลังงาน.
การประชุมคณะทำงาน PMQA หมวด 4 ครั้งที่ 1/2554 (ครั้งที่ 10)
แนวทางการดำเนินการลดขั้นตอน
การลดขั้นตอนและระยะเวลาการปฏิบัติราชการ และการพิจารณาให้รางวัลคุณภาพ
การตรวจรับรองเกณฑ์คุณภาพการบริหาร จัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน (Certify FL) 1.
องค์กรนำการปศุสัตว์ไทย
คำถามตามเกณฑ์ PMQA:105คำถาม หมวด2 9คำถาม.
กรอบการประเมินผลของส่วนราชการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2555
ทำไมต้องปรับระบบการบริหารจัดการภาครัฐ ?
ตัวชี้วัด ปี 2548 คำรับรองการปฏิบัติราชการ มิติ 1 ประสิทธิผล
โครงการพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ (การส่งเสริมให้ส่วนราชการนำร่อง เข้าสู่การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ) เขียนลักษณะสำคัญขององค์กร :
“การถ่ายทอดตัวชี้วัด จากระดับองค์กรลงสู่ระดับบุคคล”
ระเบียบวาระการเตรียมทีมนิเทศงาน ปี 2557
การติดตามการดำเนินงานตามแผนปฏิบัติการ ครั้งที่ 2
ตัวชี้วัดระดับความสำเร็จของการดำเนินการ มาตรการประหยัดพลังงาน
คำรับรองการปฏิบัติราชการของส่วนราชการ
Evaluation as a Strategy ; สำนักประเมินผล สำนักงบประมาณ
ระดับความสำเร็จของการดำเนินการตามมาตรการประหยัดพลังงานของส่วนราชการ
หมวด5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
มีอำนาจหน้าที่เกี่ยวกับ สำนักนโยบายป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
การพัฒนา องค์การ ประสิทธิภาพของ การปฏิบัติราชการ ประสิทธิผล ตามยุทธศาสตร์ เพิ่มประสิทธิภาพการปฏิบัติงาน ตามคำรับรอง การปฏิบัติ ราชการ ประจำปีงบประมาณ พ.
ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ โดย ผู้อำนวยการกลุ่มพัฒนาระบบบริหาร
กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร กรมอนามัย
ตัวชี้วัดคุณภาพการให้บริการประชาชน
รางวัลบริการภาครัฐแห่งชาติ (Thailand Public Service Awards)
แนวทางการดำเนินการ พัฒนาระบบราชการกรมอนามัย ประจำปี 2553.
ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 5 การเสริมสร้าง สมรรถนะองค์กรให้มีประสิทธิภาพสูง อำนาจหน้าที่ 1. ตรวจราชการ ประสานงาน เร่งรัด ติดตาม ตรวจสอบ และ ประเมินผลการปฏิบัติราชการ.
ระดับกระทรวง / กรม เป้าหมายการให้บริการระดับกระทรวง (PSAM) เป้าหมายการให้บริการระดับกรม (PSA) ระดับหน่วยงาน ตัวชี้วัดผลผลิตตามเอกสาร สงป. (SDA) ตัวชี้วัดคำรับรองกรมฯ.
ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศ
การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ
สำนักช่วยเหลือผู้ประสบภัย มิติประสิทธิภาพของ การปฏิบัติราชการ มิติประสิทธิผล ตามยุทธศาสตร์ มีอำนาจหน้าที่เกี่ยวกับ 1. ช่วยเหลือและบรรเทาเหตุเบื้องต้นแก่
ใบสำเนางานนำเสนอ:

กรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการของกรม ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2557 กรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการของกรม ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2557 ประเด็นการประเมินผลการปฏิบัติราชการ กรอบการประเมินผล 2557 น้ำหนัก (%) มิติภายนอก 70 การประเมินประสิทธิผล (60) 1. ตัวชี้วัดตามภารกิจหลักของกรมที่สอดคล้องกับนโยบายสำคัญเร่งด่วนของรัฐบาลและภารกิจหลักของกระทรวง 60 2. ตัวชี้วัดของกระทรวงที่มีเป้าหมายร่วมกัน (Joint KPIs) การประเมินคุณภาพ (10) 3. คุณภาพการให้บริการประชาชน (Service Level Agreement: SLA) 10 มิติภายใน 30 การประเมินประสิทธิภาพ (10) 4. การเบิกจ่ายเงินงบประมาณ 5 5. การประหยัดพลังงาน การพัฒนาองค์การ (20) 6. การพัฒนาสมรรถนะองค์การ (การพัฒนาบุคลากร สารสนเทศ และวัฒนธรรมองค์การ) 15 7. การสร้างความโปร่งใสในการปฏิบัติราชการ รวม 100

ประเด็นการเปลี่ยนแปลง ลดตัวชี้วัดเหลือ 7 ตัวชี้วัด กำหนด ตัวชี้วัดตามนโยบายสำคัญเร่งด่วนของรัฐบาลและภารกิจหลักของกระทรวง/กรม ไม่เกิน 5 ตัว โดยให้กระทรวงวิเคราะห์จากแผนยุทธศาสตร์ของกระทรวงที่ปรับให้สอดคล้องกับ Country Strategy (ยึด KPIs 56 เป็นฐาน) ให้ความสำคัญกับ Cross Agency Indicators / Joint KPIs ปรับตัวชี้วัดมิติภายนอก ด้านการประเมินคุณภาพ เป็นการวัดคุณภาพการให้บริการประชาชน อาจไม่ใช่ตัวชี้วัดของทุกกรม จะวัดเฉพาะหน่วยงานที่มีการให้บริการที่มีผลกระทบกับประชาชนโดยตรง ยกเลิกตัวชี้วัด ระดับความสำเร็จของการจัดทำต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต ระดับความสำเร็จของปริมาณผลผลิตที่ทำได้จริงเปรียบเทียบกับเป้าหมายผลผลิตตามเอกสารงบประมาณรายจ่าย

หลักการในการกำหนดกรอบปี 2557 สำนักงาน ก.พ.ร. ดำเนินการจัดทำคำรับรองการปฏิบัติราชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2557 ในระดับกระทรวงเท่านั้น ทั้งนี้ กระทรวงรับไปดำเนินการจัดทำคำรับรองฯ และติดตามประเมินผลการปฏิบัติราชการกับส่วนราชการในสังกัด 2. การประเมินผลส่วนราชการ * มิติภายนอก การประเมินประสิทธิผล วิเคราะห์จากยุทธศาสตร์ของกระทรวงและตัวชี้วัดของกระทรวงที่มีเป้าหมายร่วมกัน (Joint KPIs) ให้สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ประเทศ (Country Strategy) แล้วนำมากำหนดเป็นตัวชี้วัดตามคำรับรองการปฏิบัติราชการของกระทรวง โดยยึดตัวชี้วัดในปี 2556 เป็นฐาน และมีจำนวนไม่เกิน 5 ตัว * มิติภายใน การประเมินประสิทธิภาพ และการพัฒนาองค์การ จะวัดผลในระดับกระทรวง โดยคำนวณผลคะแนนเฉลี่ยจากผลการดำเนินงานของทุกส่วนราชการในสังกัด 3. ตัวชี้วัดของกระทรวงที่มีเป้าหมายร่วมกัน (Joint KPIs) จะดำเนินการวัดผลเฉพาะกระทรวงที่เป็นเจ้าภาพ ซึ่งเจ้าภาพจะต้องดำเนินการติดตาม outcome KPI และ output KPI ของส่วนราชการที่เกี่ยวข้อง รวมทั้งดำเนินการผลักดันให้การดำเนินการ Joint KPIs บรรลุผลสำเร็จ

ตัวชี้วัดที่ 4 การเบิกจ่ายเงินงบประมาณ กรณี 1น้ำหนัก กรณี 2 น้ำหนัก กรณี 3 น้ำหนัก กรณี 4 น้ำหนัก 1 การเบิกจ่ายเงินงบประมาณรายจ่ายลงทุน 1.25 - 2 การเบิกจ่ายเงินงบประมาณรายจ่ายภาพรวม 3 การเบิกจ่ายเงินงบประมาณตามแผน 2.50 4 การเบิกจ่ายเงินกันไว้เบิกเหลื่อมปีและขยายเวลาการเบิกจ่ายเงิน 6 เดือนแรก น้ำหนักรวม 5 ตัวชี้วัดการเบิกจ่ายเงินงบประมาณรายจ่ายลงทุน เงินงบประมาณรายจ่ายลงทุนที่ส่วนราชการเบิกจ่าย x 100 วงเงินงบประมาณรายจ่ายลงทุนที่ส่วนราชการได้รับ 1 ระดับ 1 ระดับ 2 ระดับ 3 ระดับ 4 ระดับ 5 74 76 78 80 82 ตัวชี้วัดการเบิกจ่ายเงินงบประมาณรายจ่ายภาพรวม เงินงบประมาณรายจ่ายภาพรวมที่ส่วนราชการเบิกจ่าย ตั้งแต่เดือนตุลาคม 2556 ถึงเดือนกันยายน 2557 x 100 วงเงินงบประมาณรายจ่ายลงทุนที่ส่วนราชการได้รับ 2 ระดับ 1 ระดับ 2 ระดับ 3 ระดับ 4 ระดับ 5 91 92 93 94 95 ตัวชี้วัดการเบิกจ่ายเงินงบประมาณตามแผน 3 ระดับ 1 ระดับ 2 ระดับ 3 ระดับ 4 ระดับ 5 91 92 93 94 95 X1 , X2 , X3 , X4 = ผลการเบิกจ่ายเงินงบประมาณรายจ่ายภาพรวมแต่ละไตรมาส Y1 , Y2 , Y3 , Y4 =วงเงินงบประมาณตามแผนการใช้จ่ายเงินในปีงบประมาณ พ.ศ. 2557 ในระบบ GFMIS แต่ละไตรมาส ตัวชี้วัดการเบิกจ่ายเงินกันไว้เบิกเหลื่อมปีและขยายเวลาการเบิกจ่ายเงิน 6 เดือนแรก วงเงินกันไว้เบิกเหลื่อมปีฯ ที่ส่วนราชการเบิกจ่าย ตั้งแต่เดือนตุลาคม 2556 ถึงเดือนมีนาคม 2557 x 100 วงเงินกันไว้เบิกเหลื่อมปีฯ ที่ส่วนราชการได้รับอนุมัติ 4 ระดับ 1 ระดับ 2 ระดับ 3 ระดับ 4 ระดับ 5 43 45 47 49 51

ตัวชี้วัดที่ 5 การประหยัดพลังงานของส่วนราชการ ตัวชี้วัดนี้ใช้วัดความสำเร็จของการดำเนินการตามมาตรการประหยัดพลังงานของส่วนราชการ โดยที่ส่วนราชการสามารถจัดการใช้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ และมีผลการใช้พลังงานลดลงได้อย่างน้อยร้อยละ 10 1. ด้านไฟฟ้า พิจารณาจากพลังงาน 2 ชนิด 2. ด้านน้ำมันเชื้อเพลิง ด้านไฟฟ้า 1 ดัชนีชี้วัดประสิทธิภาพการใช้ไฟฟ้า (Energy Utilization Index, EUI) = (90% ของปริมาณการใช้ไฟฟ้ามาตรฐาน) – ปริมาณการใช้ไฟฟ้าจริง ปริมาณการใช้ไฟฟ้าจริง ด้านน้ำมันเชื้อเพลิง 2 ดัชนีชี้วัดประสิทธิภาพการใช้น้ำมัน (Energy Utilization Index, EUI) = (90% ของปริมาณการใช้น้ำมันมาตรฐาน) – ปริมาณการใช้น้ำมันจริง ปริมาณการใช้น้ำมันจริง สำนักงาน ก.พ.ร. จะใช้ข้อมูลที่ส่วนราชการได้รายงานผลผ่าน www.e-report.energy.go.th ของสำนักงานนโยบายและแผนพลังงาน (สนพ.) เท่านั้น

ตัวชี้วัดที่ 5 การประหยัดพลังงานของส่วนราชการ (ต่อ) ด้านไฟฟ้า 1 ด้านน้ำมันเชื้อเพลิง 2 ระดับคะแนน เกณฑ์การให้คะแนน คะแนน 1 มีการติดตามและรายงานผลการดำเนินการตามมาตรการประหยัดพลังงานด้านไฟฟ้าของปีงบประมาณ 2557 รอบ 6 เดือน (ตุลาคม 2556 - มีนาคม 2557) และรอบ 12 เดือน (เมษายน 2557 - กันยายน 2557) ตามรูปแบบที่ สนพ. กำหนด 0.5000 2 2.1 มีการรายงานข้อมูลพื้นฐานสำหรับการประเมินปริมาณการใช้ไฟฟ้ามาตรฐาน และค่าดัชนีการใช้ไฟฟ้าประจำปีงบประมาณ 2557 ตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่ สนพ. กำหนดได้แล้วเสร็จ และครบถ้วน 12 เดือน นับตั้งแต่เดือนตุลาคม 2556 ถึงเดือนกันยายน 2557 0.2500 2.2 มีการรายงานข้อมูลปริมาณการใช้ไฟฟ้าที่ใช้จริง (kWh; กิโลวัตต์-ชั่วโมง) ประจำปีงบประมาณ 2557 ครบถ้วน 12 เดือน นับตั้งแต่เดือนตุลาคม 2556 ถึงเดือนกันยายน 2557 3 มีผลการคำนวณ EUI ด้านการใช้ไฟฟ้า ประจำปีงบประมาณ 2557 ตามสูตรการคำนวณที่ สนพ. กำหนด โดยอยู่ในช่วง -0.200 ถึง -0.333 0.0001 - 4 มีผลการคำนวณ EUI ด้านการใช้ไฟฟ้า ประจำปีงบประมาณ 2557 ตามสูตรการคำนวณที่ สนพ. กำหนด โดยอยู่ในช่วง -0.091 ถึง -0.199 5 มีผลการคำนวณ EUI ด้านการใช้ไฟฟ้า ประจำปีงบประมาณ 2557 ตามสูตรการคำนวณที่ สนพ. กำหนด โดยอยู่ในช่วง 0 ถึง -0.090 ในกรณีที่ผลการคำนวณ EUI ด้านการใช้ไฟฟ้า มากกว่า 0 ส่วนราชการจะได้คะแนนระดับที่ 3, 4 และ 5 รวมกัน เท่ากับ 1.500 คะแนน ระดับคะแนน เกณฑ์การให้คะแนน คะแนน 1 มีการติดตามและรายงานผลการดำเนินการตามมาตรการ ประหยัดพลังงานด้านน้ำมันเชื้อเพลิงของปีงบประมาณ 2557 รอบ 6 เดือน (ตุลาคม 2556 - มีนาคม 2557) และรอบ 12 เดือน (เมษายน 2557 - กันยายน 2557) ตามรูปแบบที่ สนพ. กำหนด 0.5000 2 2.1 มีการรายงานข้อมูลพื้นฐานสำหรับการประเมินปริมาณการ ใช้น้ำมันเชื้อเพลิงมาตรฐานและค่าดัชนีการใช้น้ำมัน เชื้อเพลิงประจำปีงบประมาณ 2557 ตามหลักเกณฑ์และ วิธีการที่ สนพ. กำหนดได้แล้วเสร็จ และครบถ้วน 12 เดือน นับตั้งแต่เดือนตุลาคม 2556 ถึงเดือนกันยายน 2557 0.2500 2.2 มีการรายงานข้อมูลปริมาณการใช้น้ำมันเชื้อเพลิงที่ใช้จริง (ลิตร) ประจำปีงบประมาณ 2557 ครบถ้วน 12 เดือน นับตั้งแต่เดือนตุลาคม 2556 ถึงเดือนกันยายน 2557 3 มีผลการคำนวณ EUI ด้านการใช้น้ำมันเชื้อเพลิงประจำปี งบประมาณ 2557 ตามสูตรการคำนวณที่ สนพ. กำหนด อยู่ ในช่วง -0.200 ถึง -0.333 0.0001 - 4 มีผลการคำนวณ EUI ด้านการใช้น้ำมันเชื้อเพลิงประจำปี งบประมาณ 2557 ตามสูตรการคำนวณที่ สนพ. กำหนด อยู่ ในช่วง -0.091 ถึง -0.199 5 มีผลการคำนวณ EUI ด้านการใช้น้ำมันเชื้อเพลิงประจำปีงบประมาณ 2557 ตามสูตรการคำนวณที่ สนพ. กำหนด อยู่ในช่วง 0 ถึง -0.090 ในกรณีที่ผลการคำนวณค่าดัชนีการใช้น้ำมันเชื้อเพลิง มากกว่า 0 ส่วนราชการจะได้คะแนนระดับที่ 3, 4 และ 5 รวมกัน เท่ากับ 1.500 คะแนน

ตัวชี้วัดที่ 6 การสร้างความโปร่งใสในการปฏิบัติราชการ เป็นการวัดกระบวนงานตามภารกิจของส่วนราชการที่มีความเสี่ยงสูงในการเกิดทุจริตคอร์รัปชั่น และเกี่ยวข้องกับการให้บริการต่อประชาชนโดยตรง สำนักงาน ก.พ.ร. ประเมินจากผลการดำเนินการตามข้อเสนอการเปลี่ยนแปลงเพื่อสร้างความโปร่งใสในการปฏิบัติราชการของ ส่วนราชการใน ปีงบประมาณ พ.ศ. 2556 ร่วมกับผลการรับฟังความเห็นจากภาคเอกชน และประชาชนทั่วไปผ่านช่องทาง เว็บไซต์ (www.stopcorruption.go.th) ตู้รับเรื่องร้องเรียน และสายด่วน 1206 ตัวชี้วัด น้ำหนัก 1 ร้อยละความสำเร็จของตัวชี้วัดผลลัพธ์ในการสร้างความโปร่งใสในการปฏิบัติราชการ 2 ร้อยละความพึงพอใจของประชาชนต่อการสร้างความโปร่งใสในการปฏิบัติราชการ 3 1 ตัวชี้วัดผลลัพธ์ในการสร้างความโปร่งใสในการปฏิบัติราชการ ผลการดำเนินงานจริง x 100 ค่าเป้าหมายที่กำหนด ตัวชี้วัดผลลัพธ์ หมายถึง ตัวชี้วัดที่ส่วนราชการเลือกมาวัดผลการดำเนินการ ซึ่งต้องสะท้อนถึงความสำเร็จในการสร้างความโปร่งใส และป้องกันการทุจริตในกระบวนงานที่ดำเนินการ ระดับ 1 ระดับ 2 ระดับ 3 ระดับ 4 ระดับ 5 70 75 80 85 90 2 ความพึงพอใจของประชาชนต่อการสร้างความโปร่งใสในการปฏิบัติราชการ สำรวจความพึงพอใจของประชาชนทุกกลุ่มเป้าหมายที่ได้รับผลกระทบโดยตรงตามกระบวนงานที่ดำเนินการสร้างความโปร่งใส สำรวจโดยผุ้ประเมินอิสระจากภายนอก ระดับ 1 ระดับ 2 ระดับ 3 ระดับ 4 ระดับ 5 70 75 80 85 90

ตัวชี้วัดการพัฒนาสมรรถนะองค์การ

กรอบการประเมินผลของส่วนราชการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2557 การประเมินประสิทธิผล (ร้อยละ 60) การประเมินคุณภาพ (ร้อยละ10) มิติภายนอก มิติภายนอก (ร้อยละ70 ) การประเมินประสิทธิภาพ (ร้อยละ10) มิติภายใน (ร้อยละ30 ) การพัฒนาองค์การ (ร้อยละ20) การพัฒนาสมรรถนะองค์การ (ร้อยละ 15) การสร้างความโปร่งใสในการปฏิบัติราชการ (ร้อยละ 5) มิติภายใน

ตัวชี้วัดการพัฒนาสมรรถนะองค์การ GES ด้านการพัฒนาองค์การ การพัฒนาบุคลากร ประเด็นการประเมินผล ทุนมนุษย์ - การพัฒนาทรัพยากร มนุษย์ (HRD) - การบริหารทรัพยากรมนุษย์ (HRM) การพัฒนาปรับปรุงสารสนเทศ ทุนสารสนเทศ - ความพึงพอใจของผู้ใช้สารสนเทศ - ประสิทธิภาพของระบบสารสนเทศ การพัฒนาปรับปรุงวัฒนธรรมองค์การ ทุนองค์การ - ความสอดคล้องเชื่อมโยง กันในองค์การ - ความสำเร็จขององค์การ - การสร้างสิ่งใหม่ Human Capital Information Capital Organization Capital Survey Online Survey Online Survey Online ตรวจเชิงประจักษ์ + KPI การสร้างความโปร่งใสในการปฏิบัติราชการ

ตัวชี้วัดการพัฒนาสมรรถนะองค์การ น้ำหนัก (ร้อยละ) 1. ระดับความสำเร็จของการจัดทำรายงานลักษณะสำคัญขององค์การ 2 2. จำนวนข้อมูลเชิงประจักษ์ด้านประสิทธิภาพของระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ 3 3. ระดับความสำเร็จของการพัฒนาองค์การ 10 รวม 15

ระดับความสำเร็จของการจัดทำรายงานลักษณะสำคัญขององค์การ น้ำหนัก ร้อยละ 2 พันธกิจหรือหน้าที่ตามกฎหมาย วิสัยทัศน์ เป้าประสงค์หลัก ค่านิยม วัฒนธรรม ลักษณะโดยรวมของบุคลากร เทคโนโลยี อุปกรณ์ สิ่งอำนวยความสะดวก กฎหมาย กฎ ระเบียบ ข้อบังคับ การกำกับดูแลตนเองที่ดี องค์การที่เกี่ยวข้องกัน กลุ่มผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย สภาพการแข่งขัน ปัจจัยสำคัญ ปัจจัยแวดล้อม ข้อมูลเชิงเปรียบเทียบ ข้อมูลเชิงแข่งขัน ข้อจำกัดในการได้ข้อมูล ความท้าทายเชิงยุทธศาสตร์ การปรับปรุงประสิทธิภาพ การเรียนรู้ขององค์การ ระดับคะแนน เกณฑ์การให้คะแนน 1 จัดส่งรายงานลักษณะสำคัญขององค์การผ่านระบบ e-SAR ภายหลังระยะเวลาการรายงานรอบ 6 เดือน 2 - 3 จัดส่งรายงานลักษณะสำคัญขององค์การผ่านระบบ e-SAR ภายในระยะเวลาการรายงานรอบ 6 เดือน 4 5 จัดส่งรายงานลักษณะสำคัญขององค์การผ่านระบบ e-SAR ภายในระยะเวลาการรายงานรอบ 6 เดือน และรายงานมีความครบถ้วนและทันสมัย

จำนวนข้อมูลเชิงประจักษ์ด้านประสิทธิภาพของระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ น้ำหนัก ร้อยละ 3 เกณฑ์การให้คะแนน การประเมิน น้ำหนัก เกณฑ์การให้คะแนน 1 2 3 4 5 9.2 จำนวนข้อมูลเชิงประจักษ์ด้านประสิทธิภาพของระบบสารสนเทศ 1.5   ≤6 7 8 9 10

ระดับความสำเร็จของการพัฒนาองค์การ น้ำหนัก ร้อยละ 10 Survey ครั้งที่ 1 16 - 30 ก.ย. 56 นำผลไป พัฒนาองค์การ Survey ครั้งที่ 2 1 – 15 ก.ย. 57

Survey Online ความเห็น หมายถึง การแสดงความคิดเห็น ต่อเรื่องใดเรื่องหนึ่งของบุคลากรภายในองค์การ กับข้อมูลอันเป็นข้อเท็จจริงที่เกิดขึ้น ความสำคัญ หมายถึง การให้น้ำหนักในการพิจารณากับเรื่องที่เห็นว่ามีคุณค่า มีประโยชน์ หรือมีผลกระทบต่อองค์การ หรือเป็นเรื่องที่มีความจำเป็นมากกว่าเรื่องอื่น หลักการประเมินจากการสำรวจ Organization Development Survey คือการทำให้ GAP น้อยที่สุด ซึ่งเป็นส่วนต่างระหว่างปัจจัยด้านระดับความสำคัญและความเห็นของบุคลากรภายในองค์การ (Gap) หากส่วนต่างระหว่างความเห็นและความสำคัญต่อความพึงพอใจของบุคลากรภายในองค์กร (Gap) มีค่าสูง แสดงว่า สิ่งที่บุคลากรในองค์การมีความเห็นกับความสำคัญที่องค์การมุ่งเน้นมีความแตกต่างกันมาก ดังนั้นหน่วยงานควรดำเนินการพัฒนาองค์การโดยการหาสาเหตุของปัญหาและดำเนินการแก้ไข หากมีผู้ตอบน้อยกว่าจำนวนกลุ่มตัวอย่างตามหลักสถิติที่กำหนดไว้ (สามารถตรวจสอบจำนวนผู้ตอบขั้นต่ำของแต่ละส่วนราชการได้จากหน้าเว็บไซต์ระบบการสำรวจออนไลน์) จะได้คะแนนเท่ากับ 1.0000 คะแนน เนื่องจากไม่สามารถนำผลการสำรวจมาใช้เป็นตัวแทนในการประเมินผลได้

Survey Online

Survey Online

Survey Online

Survey Online

Survey Online

Survey Online

แผนพัฒนาสมรรถนะองค์การ

คะแนนตัวชี้วัด = X + (0.2 x Y) ระดับความสำเร็จของการพัฒนาองค์การ น้ำหนัก ร้อยละ 10 สูตรคำนวณ: คะแนนตัวชี้วัด = X + (0.2 x Y) X = ค่าคะแนนตามระดับการดำเนินการในการจัดส่งแผนพัฒนาสมรรถนะองค์การ และค่าเฉลี่ยส่วนต่างระหว่าง ความเห็นและความสำคัญต่อความพึงพอใจในการพัฒนาองค์การ ครั้งที่ 2 Y = จำนวนข้อคำถามในแผนพัฒนาสมรรถนะองค์การ ที่มีส่วนต่างระหว่างความเห็นและความสำคัญต่อความพึงพอใจในการพัฒนาองค์การ ครั้งที่ 2 น้อยกว่าหรือเท่ากับครั้งที่ 1 X ระดับการดำเนินการ 1 จัดส่งแผนพัฒนาสมรรถนะองค์การ ผ่านระบบ e-SAR ภายหลังระยะเวลาการรายงานรอบ 6 เดือน และ ค่าเฉลี่ยส่วนต่างระหว่างความเห็นและความสำคัญต่อความพึงพอใจในการพัฒนาองค์การ ครั้งที่ 2 มากกว่าครั้งที่ 1 2 ค่าเฉลี่ยส่วนต่างระหว่างความเห็นและความสำคัญต่อความพึงพอใจในการพัฒนาองค์การ ครั้งที่ 2 น้อยกว่าหรือเท่ากับครั้งที่ 1 3 จัดส่งแผนพัฒนาสมรรถนะองค์การ ผ่านระบบ e-SAR ภายในระยะเวลาการรายงานรอบ 6 เดือน 4

ขอขอบคุณ