กรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการของกรม ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2557 กรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการของกรม ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2557 ประเด็นการประเมินผลการปฏิบัติราชการ กรอบการประเมินผล 2557 น้ำหนัก (%) มิติภายนอก 70 การประเมินประสิทธิผล (60) 1. ตัวชี้วัดตามภารกิจหลักของกรมที่สอดคล้องกับนโยบายสำคัญเร่งด่วนของรัฐบาลและภารกิจหลักของกระทรวง 60 2. ตัวชี้วัดของกระทรวงที่มีเป้าหมายร่วมกัน (Joint KPIs) การประเมินคุณภาพ (10) 3. คุณภาพการให้บริการประชาชน (Service Level Agreement: SLA) 10 มิติภายใน 30 การประเมินประสิทธิภาพ (10) 4. การเบิกจ่ายเงินงบประมาณ 5 5. การประหยัดพลังงาน การพัฒนาองค์การ (20) 6. การพัฒนาสมรรถนะองค์การ (การพัฒนาบุคลากร สารสนเทศ และวัฒนธรรมองค์การ) 15 7. การสร้างความโปร่งใสในการปฏิบัติราชการ รวม 100
ประเด็นการเปลี่ยนแปลง ลดตัวชี้วัดเหลือ 7 ตัวชี้วัด กำหนด ตัวชี้วัดตามนโยบายสำคัญเร่งด่วนของรัฐบาลและภารกิจหลักของกระทรวง/กรม ไม่เกิน 5 ตัว โดยให้กระทรวงวิเคราะห์จากแผนยุทธศาสตร์ของกระทรวงที่ปรับให้สอดคล้องกับ Country Strategy (ยึด KPIs 56 เป็นฐาน) ให้ความสำคัญกับ Cross Agency Indicators / Joint KPIs ปรับตัวชี้วัดมิติภายนอก ด้านการประเมินคุณภาพ เป็นการวัดคุณภาพการให้บริการประชาชน อาจไม่ใช่ตัวชี้วัดของทุกกรม จะวัดเฉพาะหน่วยงานที่มีการให้บริการที่มีผลกระทบกับประชาชนโดยตรง ยกเลิกตัวชี้วัด ระดับความสำเร็จของการจัดทำต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต ระดับความสำเร็จของปริมาณผลผลิตที่ทำได้จริงเปรียบเทียบกับเป้าหมายผลผลิตตามเอกสารงบประมาณรายจ่าย
หลักการในการกำหนดกรอบปี 2557 สำนักงาน ก.พ.ร. ดำเนินการจัดทำคำรับรองการปฏิบัติราชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2557 ในระดับกระทรวงเท่านั้น ทั้งนี้ กระทรวงรับไปดำเนินการจัดทำคำรับรองฯ และติดตามประเมินผลการปฏิบัติราชการกับส่วนราชการในสังกัด 2. การประเมินผลส่วนราชการ * มิติภายนอก การประเมินประสิทธิผล วิเคราะห์จากยุทธศาสตร์ของกระทรวงและตัวชี้วัดของกระทรวงที่มีเป้าหมายร่วมกัน (Joint KPIs) ให้สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ประเทศ (Country Strategy) แล้วนำมากำหนดเป็นตัวชี้วัดตามคำรับรองการปฏิบัติราชการของกระทรวง โดยยึดตัวชี้วัดในปี 2556 เป็นฐาน และมีจำนวนไม่เกิน 5 ตัว * มิติภายใน การประเมินประสิทธิภาพ และการพัฒนาองค์การ จะวัดผลในระดับกระทรวง โดยคำนวณผลคะแนนเฉลี่ยจากผลการดำเนินงานของทุกส่วนราชการในสังกัด 3. ตัวชี้วัดของกระทรวงที่มีเป้าหมายร่วมกัน (Joint KPIs) จะดำเนินการวัดผลเฉพาะกระทรวงที่เป็นเจ้าภาพ ซึ่งเจ้าภาพจะต้องดำเนินการติดตาม outcome KPI และ output KPI ของส่วนราชการที่เกี่ยวข้อง รวมทั้งดำเนินการผลักดันให้การดำเนินการ Joint KPIs บรรลุผลสำเร็จ
ตัวชี้วัดที่ 4 การเบิกจ่ายเงินงบประมาณ กรณี 1น้ำหนัก กรณี 2 น้ำหนัก กรณี 3 น้ำหนัก กรณี 4 น้ำหนัก 1 การเบิกจ่ายเงินงบประมาณรายจ่ายลงทุน 1.25 - 2 การเบิกจ่ายเงินงบประมาณรายจ่ายภาพรวม 3 การเบิกจ่ายเงินงบประมาณตามแผน 2.50 4 การเบิกจ่ายเงินกันไว้เบิกเหลื่อมปีและขยายเวลาการเบิกจ่ายเงิน 6 เดือนแรก น้ำหนักรวม 5 ตัวชี้วัดการเบิกจ่ายเงินงบประมาณรายจ่ายลงทุน เงินงบประมาณรายจ่ายลงทุนที่ส่วนราชการเบิกจ่าย x 100 วงเงินงบประมาณรายจ่ายลงทุนที่ส่วนราชการได้รับ 1 ระดับ 1 ระดับ 2 ระดับ 3 ระดับ 4 ระดับ 5 74 76 78 80 82 ตัวชี้วัดการเบิกจ่ายเงินงบประมาณรายจ่ายภาพรวม เงินงบประมาณรายจ่ายภาพรวมที่ส่วนราชการเบิกจ่าย ตั้งแต่เดือนตุลาคม 2556 ถึงเดือนกันยายน 2557 x 100 วงเงินงบประมาณรายจ่ายลงทุนที่ส่วนราชการได้รับ 2 ระดับ 1 ระดับ 2 ระดับ 3 ระดับ 4 ระดับ 5 91 92 93 94 95 ตัวชี้วัดการเบิกจ่ายเงินงบประมาณตามแผน 3 ระดับ 1 ระดับ 2 ระดับ 3 ระดับ 4 ระดับ 5 91 92 93 94 95 X1 , X2 , X3 , X4 = ผลการเบิกจ่ายเงินงบประมาณรายจ่ายภาพรวมแต่ละไตรมาส Y1 , Y2 , Y3 , Y4 =วงเงินงบประมาณตามแผนการใช้จ่ายเงินในปีงบประมาณ พ.ศ. 2557 ในระบบ GFMIS แต่ละไตรมาส ตัวชี้วัดการเบิกจ่ายเงินกันไว้เบิกเหลื่อมปีและขยายเวลาการเบิกจ่ายเงิน 6 เดือนแรก วงเงินกันไว้เบิกเหลื่อมปีฯ ที่ส่วนราชการเบิกจ่าย ตั้งแต่เดือนตุลาคม 2556 ถึงเดือนมีนาคม 2557 x 100 วงเงินกันไว้เบิกเหลื่อมปีฯ ที่ส่วนราชการได้รับอนุมัติ 4 ระดับ 1 ระดับ 2 ระดับ 3 ระดับ 4 ระดับ 5 43 45 47 49 51
ตัวชี้วัดที่ 5 การประหยัดพลังงานของส่วนราชการ ตัวชี้วัดนี้ใช้วัดความสำเร็จของการดำเนินการตามมาตรการประหยัดพลังงานของส่วนราชการ โดยที่ส่วนราชการสามารถจัดการใช้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ และมีผลการใช้พลังงานลดลงได้อย่างน้อยร้อยละ 10 1. ด้านไฟฟ้า พิจารณาจากพลังงาน 2 ชนิด 2. ด้านน้ำมันเชื้อเพลิง ด้านไฟฟ้า 1 ดัชนีชี้วัดประสิทธิภาพการใช้ไฟฟ้า (Energy Utilization Index, EUI) = (90% ของปริมาณการใช้ไฟฟ้ามาตรฐาน) – ปริมาณการใช้ไฟฟ้าจริง ปริมาณการใช้ไฟฟ้าจริง ด้านน้ำมันเชื้อเพลิง 2 ดัชนีชี้วัดประสิทธิภาพการใช้น้ำมัน (Energy Utilization Index, EUI) = (90% ของปริมาณการใช้น้ำมันมาตรฐาน) – ปริมาณการใช้น้ำมันจริง ปริมาณการใช้น้ำมันจริง สำนักงาน ก.พ.ร. จะใช้ข้อมูลที่ส่วนราชการได้รายงานผลผ่าน www.e-report.energy.go.th ของสำนักงานนโยบายและแผนพลังงาน (สนพ.) เท่านั้น
ตัวชี้วัดที่ 5 การประหยัดพลังงานของส่วนราชการ (ต่อ) ด้านไฟฟ้า 1 ด้านน้ำมันเชื้อเพลิง 2 ระดับคะแนน เกณฑ์การให้คะแนน คะแนน 1 มีการติดตามและรายงานผลการดำเนินการตามมาตรการประหยัดพลังงานด้านไฟฟ้าของปีงบประมาณ 2557 รอบ 6 เดือน (ตุลาคม 2556 - มีนาคม 2557) และรอบ 12 เดือน (เมษายน 2557 - กันยายน 2557) ตามรูปแบบที่ สนพ. กำหนด 0.5000 2 2.1 มีการรายงานข้อมูลพื้นฐานสำหรับการประเมินปริมาณการใช้ไฟฟ้ามาตรฐาน และค่าดัชนีการใช้ไฟฟ้าประจำปีงบประมาณ 2557 ตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่ สนพ. กำหนดได้แล้วเสร็จ และครบถ้วน 12 เดือน นับตั้งแต่เดือนตุลาคม 2556 ถึงเดือนกันยายน 2557 0.2500 2.2 มีการรายงานข้อมูลปริมาณการใช้ไฟฟ้าที่ใช้จริง (kWh; กิโลวัตต์-ชั่วโมง) ประจำปีงบประมาณ 2557 ครบถ้วน 12 เดือน นับตั้งแต่เดือนตุลาคม 2556 ถึงเดือนกันยายน 2557 3 มีผลการคำนวณ EUI ด้านการใช้ไฟฟ้า ประจำปีงบประมาณ 2557 ตามสูตรการคำนวณที่ สนพ. กำหนด โดยอยู่ในช่วง -0.200 ถึง -0.333 0.0001 - 4 มีผลการคำนวณ EUI ด้านการใช้ไฟฟ้า ประจำปีงบประมาณ 2557 ตามสูตรการคำนวณที่ สนพ. กำหนด โดยอยู่ในช่วง -0.091 ถึง -0.199 5 มีผลการคำนวณ EUI ด้านการใช้ไฟฟ้า ประจำปีงบประมาณ 2557 ตามสูตรการคำนวณที่ สนพ. กำหนด โดยอยู่ในช่วง 0 ถึง -0.090 ในกรณีที่ผลการคำนวณ EUI ด้านการใช้ไฟฟ้า มากกว่า 0 ส่วนราชการจะได้คะแนนระดับที่ 3, 4 และ 5 รวมกัน เท่ากับ 1.500 คะแนน ระดับคะแนน เกณฑ์การให้คะแนน คะแนน 1 มีการติดตามและรายงานผลการดำเนินการตามมาตรการ ประหยัดพลังงานด้านน้ำมันเชื้อเพลิงของปีงบประมาณ 2557 รอบ 6 เดือน (ตุลาคม 2556 - มีนาคม 2557) และรอบ 12 เดือน (เมษายน 2557 - กันยายน 2557) ตามรูปแบบที่ สนพ. กำหนด 0.5000 2 2.1 มีการรายงานข้อมูลพื้นฐานสำหรับการประเมินปริมาณการ ใช้น้ำมันเชื้อเพลิงมาตรฐานและค่าดัชนีการใช้น้ำมัน เชื้อเพลิงประจำปีงบประมาณ 2557 ตามหลักเกณฑ์และ วิธีการที่ สนพ. กำหนดได้แล้วเสร็จ และครบถ้วน 12 เดือน นับตั้งแต่เดือนตุลาคม 2556 ถึงเดือนกันยายน 2557 0.2500 2.2 มีการรายงานข้อมูลปริมาณการใช้น้ำมันเชื้อเพลิงที่ใช้จริง (ลิตร) ประจำปีงบประมาณ 2557 ครบถ้วน 12 เดือน นับตั้งแต่เดือนตุลาคม 2556 ถึงเดือนกันยายน 2557 3 มีผลการคำนวณ EUI ด้านการใช้น้ำมันเชื้อเพลิงประจำปี งบประมาณ 2557 ตามสูตรการคำนวณที่ สนพ. กำหนด อยู่ ในช่วง -0.200 ถึง -0.333 0.0001 - 4 มีผลการคำนวณ EUI ด้านการใช้น้ำมันเชื้อเพลิงประจำปี งบประมาณ 2557 ตามสูตรการคำนวณที่ สนพ. กำหนด อยู่ ในช่วง -0.091 ถึง -0.199 5 มีผลการคำนวณ EUI ด้านการใช้น้ำมันเชื้อเพลิงประจำปีงบประมาณ 2557 ตามสูตรการคำนวณที่ สนพ. กำหนด อยู่ในช่วง 0 ถึง -0.090 ในกรณีที่ผลการคำนวณค่าดัชนีการใช้น้ำมันเชื้อเพลิง มากกว่า 0 ส่วนราชการจะได้คะแนนระดับที่ 3, 4 และ 5 รวมกัน เท่ากับ 1.500 คะแนน
ตัวชี้วัดที่ 6 การสร้างความโปร่งใสในการปฏิบัติราชการ เป็นการวัดกระบวนงานตามภารกิจของส่วนราชการที่มีความเสี่ยงสูงในการเกิดทุจริตคอร์รัปชั่น และเกี่ยวข้องกับการให้บริการต่อประชาชนโดยตรง สำนักงาน ก.พ.ร. ประเมินจากผลการดำเนินการตามข้อเสนอการเปลี่ยนแปลงเพื่อสร้างความโปร่งใสในการปฏิบัติราชการของ ส่วนราชการใน ปีงบประมาณ พ.ศ. 2556 ร่วมกับผลการรับฟังความเห็นจากภาคเอกชน และประชาชนทั่วไปผ่านช่องทาง เว็บไซต์ (www.stopcorruption.go.th) ตู้รับเรื่องร้องเรียน และสายด่วน 1206 ตัวชี้วัด น้ำหนัก 1 ร้อยละความสำเร็จของตัวชี้วัดผลลัพธ์ในการสร้างความโปร่งใสในการปฏิบัติราชการ 2 ร้อยละความพึงพอใจของประชาชนต่อการสร้างความโปร่งใสในการปฏิบัติราชการ 3 1 ตัวชี้วัดผลลัพธ์ในการสร้างความโปร่งใสในการปฏิบัติราชการ ผลการดำเนินงานจริง x 100 ค่าเป้าหมายที่กำหนด ตัวชี้วัดผลลัพธ์ หมายถึง ตัวชี้วัดที่ส่วนราชการเลือกมาวัดผลการดำเนินการ ซึ่งต้องสะท้อนถึงความสำเร็จในการสร้างความโปร่งใส และป้องกันการทุจริตในกระบวนงานที่ดำเนินการ ระดับ 1 ระดับ 2 ระดับ 3 ระดับ 4 ระดับ 5 70 75 80 85 90 2 ความพึงพอใจของประชาชนต่อการสร้างความโปร่งใสในการปฏิบัติราชการ สำรวจความพึงพอใจของประชาชนทุกกลุ่มเป้าหมายที่ได้รับผลกระทบโดยตรงตามกระบวนงานที่ดำเนินการสร้างความโปร่งใส สำรวจโดยผุ้ประเมินอิสระจากภายนอก ระดับ 1 ระดับ 2 ระดับ 3 ระดับ 4 ระดับ 5 70 75 80 85 90
ตัวชี้วัดการพัฒนาสมรรถนะองค์การ
กรอบการประเมินผลของส่วนราชการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2557 การประเมินประสิทธิผล (ร้อยละ 60) การประเมินคุณภาพ (ร้อยละ10) มิติภายนอก มิติภายนอก (ร้อยละ70 ) การประเมินประสิทธิภาพ (ร้อยละ10) มิติภายใน (ร้อยละ30 ) การพัฒนาองค์การ (ร้อยละ20) การพัฒนาสมรรถนะองค์การ (ร้อยละ 15) การสร้างความโปร่งใสในการปฏิบัติราชการ (ร้อยละ 5) มิติภายใน
ตัวชี้วัดการพัฒนาสมรรถนะองค์การ GES ด้านการพัฒนาองค์การ การพัฒนาบุคลากร ประเด็นการประเมินผล ทุนมนุษย์ - การพัฒนาทรัพยากร มนุษย์ (HRD) - การบริหารทรัพยากรมนุษย์ (HRM) การพัฒนาปรับปรุงสารสนเทศ ทุนสารสนเทศ - ความพึงพอใจของผู้ใช้สารสนเทศ - ประสิทธิภาพของระบบสารสนเทศ การพัฒนาปรับปรุงวัฒนธรรมองค์การ ทุนองค์การ - ความสอดคล้องเชื่อมโยง กันในองค์การ - ความสำเร็จขององค์การ - การสร้างสิ่งใหม่ Human Capital Information Capital Organization Capital Survey Online Survey Online Survey Online ตรวจเชิงประจักษ์ + KPI การสร้างความโปร่งใสในการปฏิบัติราชการ
ตัวชี้วัดการพัฒนาสมรรถนะองค์การ น้ำหนัก (ร้อยละ) 1. ระดับความสำเร็จของการจัดทำรายงานลักษณะสำคัญขององค์การ 2 2. จำนวนข้อมูลเชิงประจักษ์ด้านประสิทธิภาพของระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ 3 3. ระดับความสำเร็จของการพัฒนาองค์การ 10 รวม 15
ระดับความสำเร็จของการจัดทำรายงานลักษณะสำคัญขององค์การ น้ำหนัก ร้อยละ 2 พันธกิจหรือหน้าที่ตามกฎหมาย วิสัยทัศน์ เป้าประสงค์หลัก ค่านิยม วัฒนธรรม ลักษณะโดยรวมของบุคลากร เทคโนโลยี อุปกรณ์ สิ่งอำนวยความสะดวก กฎหมาย กฎ ระเบียบ ข้อบังคับ การกำกับดูแลตนเองที่ดี องค์การที่เกี่ยวข้องกัน กลุ่มผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย สภาพการแข่งขัน ปัจจัยสำคัญ ปัจจัยแวดล้อม ข้อมูลเชิงเปรียบเทียบ ข้อมูลเชิงแข่งขัน ข้อจำกัดในการได้ข้อมูล ความท้าทายเชิงยุทธศาสตร์ การปรับปรุงประสิทธิภาพ การเรียนรู้ขององค์การ ระดับคะแนน เกณฑ์การให้คะแนน 1 จัดส่งรายงานลักษณะสำคัญขององค์การผ่านระบบ e-SAR ภายหลังระยะเวลาการรายงานรอบ 6 เดือน 2 - 3 จัดส่งรายงานลักษณะสำคัญขององค์การผ่านระบบ e-SAR ภายในระยะเวลาการรายงานรอบ 6 เดือน 4 5 จัดส่งรายงานลักษณะสำคัญขององค์การผ่านระบบ e-SAR ภายในระยะเวลาการรายงานรอบ 6 เดือน และรายงานมีความครบถ้วนและทันสมัย
จำนวนข้อมูลเชิงประจักษ์ด้านประสิทธิภาพของระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ น้ำหนัก ร้อยละ 3 เกณฑ์การให้คะแนน การประเมิน น้ำหนัก เกณฑ์การให้คะแนน 1 2 3 4 5 9.2 จำนวนข้อมูลเชิงประจักษ์ด้านประสิทธิภาพของระบบสารสนเทศ 1.5 ≤6 7 8 9 10
ระดับความสำเร็จของการพัฒนาองค์การ น้ำหนัก ร้อยละ 10 Survey ครั้งที่ 1 16 - 30 ก.ย. 56 นำผลไป พัฒนาองค์การ Survey ครั้งที่ 2 1 – 15 ก.ย. 57
Survey Online ความเห็น หมายถึง การแสดงความคิดเห็น ต่อเรื่องใดเรื่องหนึ่งของบุคลากรภายในองค์การ กับข้อมูลอันเป็นข้อเท็จจริงที่เกิดขึ้น ความสำคัญ หมายถึง การให้น้ำหนักในการพิจารณากับเรื่องที่เห็นว่ามีคุณค่า มีประโยชน์ หรือมีผลกระทบต่อองค์การ หรือเป็นเรื่องที่มีความจำเป็นมากกว่าเรื่องอื่น หลักการประเมินจากการสำรวจ Organization Development Survey คือการทำให้ GAP น้อยที่สุด ซึ่งเป็นส่วนต่างระหว่างปัจจัยด้านระดับความสำคัญและความเห็นของบุคลากรภายในองค์การ (Gap) หากส่วนต่างระหว่างความเห็นและความสำคัญต่อความพึงพอใจของบุคลากรภายในองค์กร (Gap) มีค่าสูง แสดงว่า สิ่งที่บุคลากรในองค์การมีความเห็นกับความสำคัญที่องค์การมุ่งเน้นมีความแตกต่างกันมาก ดังนั้นหน่วยงานควรดำเนินการพัฒนาองค์การโดยการหาสาเหตุของปัญหาและดำเนินการแก้ไข หากมีผู้ตอบน้อยกว่าจำนวนกลุ่มตัวอย่างตามหลักสถิติที่กำหนดไว้ (สามารถตรวจสอบจำนวนผู้ตอบขั้นต่ำของแต่ละส่วนราชการได้จากหน้าเว็บไซต์ระบบการสำรวจออนไลน์) จะได้คะแนนเท่ากับ 1.0000 คะแนน เนื่องจากไม่สามารถนำผลการสำรวจมาใช้เป็นตัวแทนในการประเมินผลได้
Survey Online
Survey Online
Survey Online
Survey Online
Survey Online
Survey Online
แผนพัฒนาสมรรถนะองค์การ
คะแนนตัวชี้วัด = X + (0.2 x Y) ระดับความสำเร็จของการพัฒนาองค์การ น้ำหนัก ร้อยละ 10 สูตรคำนวณ: คะแนนตัวชี้วัด = X + (0.2 x Y) X = ค่าคะแนนตามระดับการดำเนินการในการจัดส่งแผนพัฒนาสมรรถนะองค์การ และค่าเฉลี่ยส่วนต่างระหว่าง ความเห็นและความสำคัญต่อความพึงพอใจในการพัฒนาองค์การ ครั้งที่ 2 Y = จำนวนข้อคำถามในแผนพัฒนาสมรรถนะองค์การ ที่มีส่วนต่างระหว่างความเห็นและความสำคัญต่อความพึงพอใจในการพัฒนาองค์การ ครั้งที่ 2 น้อยกว่าหรือเท่ากับครั้งที่ 1 X ระดับการดำเนินการ 1 จัดส่งแผนพัฒนาสมรรถนะองค์การ ผ่านระบบ e-SAR ภายหลังระยะเวลาการรายงานรอบ 6 เดือน และ ค่าเฉลี่ยส่วนต่างระหว่างความเห็นและความสำคัญต่อความพึงพอใจในการพัฒนาองค์การ ครั้งที่ 2 มากกว่าครั้งที่ 1 2 ค่าเฉลี่ยส่วนต่างระหว่างความเห็นและความสำคัญต่อความพึงพอใจในการพัฒนาองค์การ ครั้งที่ 2 น้อยกว่าหรือเท่ากับครั้งที่ 1 3 จัดส่งแผนพัฒนาสมรรถนะองค์การ ผ่านระบบ e-SAR ภายในระยะเวลาการรายงานรอบ 6 เดือน 4
ขอขอบคุณ