แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบบริจาคอวัยวะ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
วิสัยทัศน์ชมรมวิสัญญีพยาบาล แห่งประเทศไทย ปีพ.ศ
Advertisements

บูรณาการสู่ความสำเร็จ
แนวทางการตรวจราชการและนิเทศงานกรณีปกติระดับกระทรวง กระทรวงสาธารณสุข เขตตรวจราชการที่ 5 ประจำปีงบประมาณ
การดำเนินงานโรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน
บรรยายพิเศษ การดำเนินงาน กศน.ตำบล
นโยบายด้านการบริการวิชาการ
สถานีอนามัยสมอพลือ อำเภอบ้านลาด จังหวัดเพชรบุรี.
ประเด็นยุทธศาสตร์ กินร้อน ช้อนกลาง ล้างมือ ดื่มน้ำสะอาด
1. การดำเนินงานในรูปแบบคณะกรรมการ/คณะทำงาน
ขับเคลื่อน....ความร่วมมือ.... ด้านสุขภาพและสิ่งแวดล้อม ภาคเหนือ
กลุ่มโภชนาการประยุกต์
โครงการพัฒนาคุณภาพระบบบริการโรงพยาบาล
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ภายในปี 2554 (ระยะ 4 ปี) เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2552 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) ประชาชน.
วันที่ถ่ายทอด มีนาคม 2548 สถานที่ถ่ายทอด โรงแรมเทวราช อ.เมือง จ.น่าน
นโยบายอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน ปี ๒๕๕๔
ผังจุดหมายปลายทางการพัฒนางานสร้างเสริมสุขภาพป้องกันโรค และ ภัยสุขภาพ ของจังหวัดในพื้นที่ สปสช.เขต 4 จังหวัดสระบุรี ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี)
ภ ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
ประชาชน ภาคี กระบวนการ พื้นฐาน
“การสนับสนุนเครือข่ายให้มีการพัฒนาการดำเนินงานอำเภอควบคุมโรค เข้มแข็งแบบยั่งยืน กรมควบคุมโรค ปี 2555” โดย ดร.นายแพทย์อนุพงค์ สุจริยากุล ผู้อำนวยการสำนักงานควบคุมป้องกันโรค.
เอกสารประกอบการประชุมผู้บริหารกรมควบคุมโรค
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดต่อทั่วไป ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดเชื้อเฉียบพลันระบบหายใจในเด็ก ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน.
สำนักโรคติดต่ออุบัติใหม่
แผนที่ยุทธศาสตร์กองสุขาภิบาล อาหารและน้ำ
ระดับพื้นฐาน (Learning /Development)
แผนที่ยุทธศาสตร์ (SRM) ระบบรับรองผู้สัมผัสอาหารมืออาชีพ
กลุ่ม น้ำบริโภคสะอาด ปลอดภัย เพียงพอ
ประชุมเพื่อประสานแผน การทำงาน การกำหนดเป้าหมาย และการติดตามกำกับงาน
ประชาชน ภาคี กระบวนการ รากฐาน
กลุ่มที่ ๓ เรื่อง โรคไม่ติดต่อ
แนวทางการดำเนินงานศูนย์พัฒนาวิชาการ
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบล
ระดับท้องถิ่น/พื้นที่
สรุปการประชุม เขต 10.
1 การดำเนินงานที่เน้นหนักของ กระทรวงสาธารณสุข ปีงบประมาณ พ. ศ นายแพทย์เสรี หงษ์หยก รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข 8 กันยายน 2553 โรงแรมเจ้าพระยาปาร์ค กรุงเทพฯ.
สำนักประสานการพัฒนาโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
พัฒนาคุณภาพเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอและหน่วยบริการ ปฐมภูมิ
เส้นทางการพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
ความคาดหวังกับรพ.สต.มิติใหม่ของการพัฒนางานสาธารณสุข
สรุปบทเรียนโครงการเอดส์ ด้าน CARE
มาตรฐานโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ
นโยบายด้านบริหาร.
ระบบและกลไก การดำเนินงานประกันคุณภาพการศึกษาในกลุ่มนักศึกษา วิทยาลัยการสาธารณสุขสิรินธร จังหวัดขอนแก่น LOGO.
นโยบายการดำเนินงาน “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” ปีงบประมาณ 2556
เครือข่ายการ พัฒนา ทรัพยากร มนุษย์ สุริยะ วงศ์คง คาเทพ.
การป้องกันและควบคุมโรคในเขตบริการสุขภาพ
รองเลขาธิการคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
ยุทธศาสตร์กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
กรอบยุทธศาสตร์กระทรวงในการจัดทำแผนปฏิบัติราชการ พ. ศ ของ วท
สิ่งที่ต้องทำต่อ 1.นำเสนอผลสำเร็จของนโยบาย ปี นำเสนอนโยบายปี 55 และตัวชี้วัด สำคัญ ตามใบงานที่ 7 8และ 9 ประธาน : นพ.สสจ. วันที่ 13 ก.ย.54 เวลา 13.00น.
มีการอบรมป้องกันพฤติกรรมเสี่ยงในวัยรุ่น
การชี้แจงตัวชี้วัด ตัวชี้วัดที่ 12 ยุทธศาสตร์ที่ 2 ด้านคุณภาพบริการ ร้อยละของอาเภอที่มีทีม miniMERT, MCATT, SRRT คุณภาพ ธีราภา ธานี พยาบาลวิชาชีพชำนาญ.
สรุปการประชุม F.S.C เขตบริการสุขภาพที่ 2
แนวทางดำเนินงานสุขภาพภาคประชาชน ของกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ
นโยบายกรมสุขภาพจิต ปีงบประมาณ 2554
เป็นผู้นำด้านวิชาการ และเทคโนโลยีการ ป้องกันและควบคุมโรค ระดับจังหวัดและเขต.
ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554 ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554
ตัวอย่างกิจกรรมภายใต้บทบาทของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
ผังจุดหมายปลายทางการจัดการสุขภาพ จังหวัดสุรินทร์ ภายในปี 2555
(Evaluation) มุมมองประชาชน มุมมองภาคี (Stakeholder) มุมมองกระบวนการ
  โครงการและกิจกรรมเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา สยามราชกุมารี
4. ด้านการสื่อสาร 5. ด้านการพัฒนานโยบายสาธารณะ
สำนักงานป้องกันควบคุม โรคที่ 5 จังหวัดนครราชสีมา.
โครงการด้านเทคโนโลยีสารสนเทศที่ดำเนินการในปีงบประมาณ 2553
ด้านครูและบุคลากรทางการศึกษา
จุดเน้น ด้านการบริหารจัดการ
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
ใบสำเนางานนำเสนอ:

แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบบริจาคอวัยวะ และการปลูกถ่ายไตพ.ศ.2553-2554

ยุทธศาสตร์ที่ 1 การพัฒนาระบบบริการ เพื่อรองรับต่อการปลูกถ่ายไต การก้าวสู่ Transplant Center และเครือข่าย Donor Hospital มาตรการและแนวทางการดำเนินงาน สร้างระบบเพื่อการบริหารจัดการ Function ระบบต่างๆ กำหนดบทบาทหน้าที่ตามกระบวนการทำงานและขั้นตอนการทำงานที่ชัดเจน เชื่อมประสานความต้องการของระบบและกำกับการบังคับใช้หลักเกณฑ์ มาตรฐานระบบขององค์กรการรับบริจาคอวัยวะและการปลูกถ่ายไต ตรวจสอบระบบคุณภาพการบริการเป็นมาตรฐานทั่วประเทศ จัดทำคู่มือ แนวทางการปฏิบัติงานที่ชัดเจน ประชาสัมพันธ์และให้ความรู้แก่สาธารณชนอย่างต่อเนื่อง

มาตรการและแนวทางการดำเนินงาน ยุทธศาสตร์ที่ 2 การสร้างความเข้าใจและการมีส่วนร่วมของเครือข่าย Donor Hospital มาตรการและแนวทางการดำเนินงาน จัดตั้งคณะทำงานเพื่อสร้างกระบวนการมีส่วนร่วมในการกำหนดแนวทาง ขั้นตอนและวิธีการดำเนินการ ดำเนินการพัฒนาเครือข่าย Donor Hospital พัฒนาระบบข้อมูล ข่าวสารและการสื่อสารทุกระดับ สร้างความรู้ ความเข้าใจที่ถูกต้อง ดำเนินการกำกับติดตาม ประเมินผลและปรับปรุงแก้ไขข้อบกพร่องในแนวทาง ขั้นตอนและวิธีการอย่างต่อเนื่อง

ยุทธศาสตร์ที่ 3 การพัฒนาระบบและกลไกการจัดการเชิงบูรณาการ มาตรการและแนวทางการดำเนินงาน พัฒนากลไกการจัดการระบบ

ยุทธศาสตร์ที่ 4 การพัฒนาวิชาการ การบริจาคอวัยวะและการปลูกถ่ายไต มาตรการและแนวทางการดำเนินงาน สร้างองค์ความรู้พื้นฐานด้านการบริจาคอวัยวะและการปลูกถ่ายไต ที่จำเป็นต่อการกำหนดมาตรการ หลักเกณฑ์ในการปฏิบัติ พัฒนาองค์ความรู้ด้านการบริจาคอวัยวะ พัฒนาองค์ความรู้การปลูกถ่ายไต

มาตรการและแนวทางการดำเนินงาน ยุทธศาสตร์ที่ 5 การสร้างเสริมศักยภาพขององค์กรและบุคลากร ให้สามารถดูแลผู้ป่วยได้อย่างมีประสิทธิภาพ มาตรการและแนวทางการดำเนินงาน พัฒนาศักยภาพบุคลากร แพทย์/ พยาบาล/ ผู้ประสานงาน ในด้านการบริจาคอวัยวะและการปลูกถ่ายไต พัฒนาศักยภาพบุคลากร ผลิตและพัฒนา สร้างแรงจูงใจให้แก่แพทย์ /พยาบาล/ผู้ที่เกี่ยวข้อง ตลอดจนส่งเสริมบทบาท พัฒนาประสิทธิภาพห้องปฏิบัติการ รองรับต่อระบบ ให้มีประสิทธิภาพและความปลอดภัย ส่งเสริมการแลกเปลี่ยนเรียนรู้และประสบการณ์ ตลอดจนการศึกษาดูงาน

กระบวนการขับเคลื่อนนโยบาย กระทรวงสาธารณสุข สภา กาชาดไทย มูลนิธิโรคไตแห่งประเทศไทย แพทยสภา สมาคมโรคไตแห่งประเทศไทย สมาคมปลูกถ่ายอวัยวะ สปสช แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบบริจาคอวัยวะและการปลูกถ่ายไต

การขยายและพัฒนาระบบบริการ รพศ. / รพท. ในภูมิภาค เครือข่ายการบริจาคอวัยวะ การพัฒนา Transplants Center การปลูกถ่ายอวัยวะ/ปลูกถ่ายไต เป้าหมาย พื้นที่ 5 จังหวัดคือ นครราชสีมา อุบลราชธานี ชลบุรี พิษณุโลก สุราษฎธานี

Donor Hospital การขยายงานให้เกิด เครือข่าย

แนวทางการดำเนินการ การจัดทำแผนบูรณาการการขับเคลื่อนนโยบายและการกำกับติดตาม ส่งเสริมระบบการขอรับบริจาคอวัยวะร่วมกันระหว่างกระทรวงสาธารณสุข สมาคมปลูกถ่ายอวัยวะ สมาคมโรคไต มูลนิธิโรคไต ศูนย์ปลูกถ่ายอวัยวะสภากาชาดไทย ในเดือน มกราคม 2554 มอบนโยบายให้ รพศ.ทุกแห่งจัดตั้งกลุ่มเครือข่ายการ รับบริจาคอวัยวะ พัฒนาศักยภาพทาง วิชาการ แพทย์/พยาบาล ผู้ประสานงาน เพิ่มพูนทักษะในการขอรับบริจาคอวัยวะ

แนวทางการดำเนินการ การจัดกิจกรรมวันไตโลก (world Kidney Day) - ส่วนกลางโดยความร่วมมือของกระทรวงสาธารณสุข สมาคมโรคไต สมาคมปลูกถ่ายอวัยวะ มูลนิธิโรคไต สปสช ฯร่วมกันจัด ณ สวนลุมพินี ในวันอาทิตย์ที่ 6 มค 54 ขอพระราชทานกราบบังคมทูลเชิญสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ ทรงเสด็จฯเป็นองค์ประธาน เดินเทอดพระเกียรติ และมีการเชิญชวนการบริจาคอวัยวะให้มากที่สุด การทำงานเชิงรุกด้านการประชาสัมพันธ์สื่อต่างๆ วิทยุ โทรทัศน์ SMS อินเตอร์เน็ต และการตั้งเต้นท์บริการตรวจสุขภาพฟรี

แนวทางการดำเนินการ การจัดกิจกรรมวันไตโลก (world Kidney Day) - ส่วนภูมิภาค เชิญชวนให้โรงพยาบาลทุกแห่งทั่วประเทศจัดกิจกรรมสัปดาห์วันไตโลก และกิจกรรมในวันพฤหัสบดีที่ 10 มีนาคม 2554 สมาคมโรคไตมีรางวัลการจัดกิจกรรมวันไตโลกดีเด่น จำนวน 20 รางวัล โดยมีคณะกรรมการกลางในการตัดสิน

ขอขอบคุณ