รักษาราชการแทนปลัดกระทรวงสาธารณสุข

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
เกณฑ์คุณภาพเครือข่ายบริการปฐมภูมิ
Advertisements

สัปดาห์ที่ 2 เรื่อง โครงการสุขศึกษา
ปัจจัยสำคัญที่มีผลต่อความสำเร็จของรพ.สต.
ทิศทางการพัฒนา “อำเภอป้องกัน ควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน”
แผนภูมิโครงสร้างส่วนราชการของกระทรวงสาธารณสุข
โครงการพัฒนาโรงพยาบาลราชบุรี บริการฉับไว ไร้ความแออัด
แนวทางการตรวจราชการและนิเทศงานกรณีปกติระดับกระทรวง กระทรวงสาธารณสุข เขตตรวจราชการที่ 5 ประจำปีงบประมาณ
แต่งตั้งคณะกรรมการบริหาร และพัฒนาโรงพยาบาล ส่งเสริมสุขภาพตำบล
แผนยุทธศาสตร์ด้านสุขภาพ เครือข่ายบริการสุขภาพที่ ๖ Service Plan บริการปฐมภูมิ ทุติยภูมิ สุขภาพองค์รวม ทพ.อนุโรจน์ เล็กเจริญสุข ทันตแพทย์เชี่ยวชาญ.
นโยบายการตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข ภารกิจ(3)ประเด็นหลัก(5)หัวข้อ (19) 1. การตรวจติดตาม นโยบายและปัญหา เร่งด่วนของกระทรวง สาธารณสุข 1. การดำเนินงานเพื่อ.
ระบบอันพึงประสงค์และการจัดบริการ อาชีวอนามัยในสถานีอนามัย
การตรวจราชการและนิเทศงาน กรณีปกติรอบที่ 1 ปีงบประมาณ จังหวัดสุรินทร์
แผนการประชุม จัดทำแผนปฏิบัติการ ๒๕๕๖
ภ ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
แนวคิด การดำเนินงาน โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
งานโรคไม่ติดต่อ กลุ่มงานควบคุมโรค สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครราชสีมา
การพัฒนาหลังจากมีการกำหนดค่ากลางของจังหวัด
ความคาดหวังหลังการประชุมฯ ครั้งนี้
การพัฒนา หน่วยบริการปฐมภูมิ
โดย ทันตแพทย์หญิงภารณี ชวาลวุฒิ โรงพยาบาลสวนปรุง
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
การบริบาลเบื้องต้นในหน่วยบริการปฐมภูมิ PUBH 224_Basic Medical Care in Primary Care Unit Benjawan Nunthachai.
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบล
ข้อเสนอการพัฒนา รพ.สต. เขตตรวจราชการที่ 3
นายแพทย์ไพจิตร์ วราชิต รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
สรุปการประชุม เขต 10.
๒๕ ธ.ค. ๒๕๕๑ ณ โรงแรมมิราเคิล แกรนด์ คอนเวนชั่น กรุงเทพฯ
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
น.พ. ศิริวัฒน์ ทิยพ์ธราดล
นโยบาย ปฐมภูมิ ลดแออัด พัฒนาคุณภาพบริการ
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
การบริหารเชิงยุทธศาสตร์
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
พัฒนาคุณภาพเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอและหน่วยบริการ ปฐมภูมิ
โครงการ/กิจกรรมสำคัญในปี 2557 สิ่งที่ CUP/อำเภอดำเนินการ
ร่วมด้วย ช่วยกัน ประชาชนคือ เป้าหมาย ร่วมด้วย ช่วยกัน ประชาชนคือ เป้าหมาย นพ. นิทัศน์ ราย ยวา ผู้ตรวจราชการ กระทรวงสาธารณสุข.
แผนงานป้องกันและควบคุมโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
เส้นทางการพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
ความคาดหวังกับรพ.สต.มิติใหม่ของการพัฒนางานสาธารณสุข
พี่เลี้ยงการพัฒนา หน่วยบริการปฐมภูมิ
การป้องกันและควบคุมโรคในเขตบริการสุขภาพ
ย.๔ พัฒนาระบบบริการสุขภาพวัยรุ่นในสถานบริการ
แนวทางการดำเนินงาน กรมอนามัย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2554
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
นโยบายโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
แนวทางการปฏิบัติภารกิจ ของสถานีอนามัย
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
นพ.นิทัศน์ รายยวา 3 ตุลาคม 2556
นโยบายการดำเนินงาน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข ศ. นพ. รัชตะ รัชตะนาวิน และ รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงสาธารณสุข นพ. สมศักดิ์ ชุณหรัศมิ์
องค์ประกอบและระยะเวลาที่ เปลี่ยนแปลง  จากมีวาระ 2 ปี เป็น 4 ปี  เพิ่ม ผู้แทนหน่วยรับเรื่องร้องเรียน อิสระ หรือศูนย์ประสานงานภาค ประชาชน หรือองค์กรเอกชนด้าน.
วิสัยทั ศน์ เป็นองค์กรที่เป็นเลิศด้าน การแก้ไขปัญหาสุขภาพจิตจาก แอลกอฮอล์ของประเทศและ พัฒนาระบบบริการสุขภาพจิต และจิตเวชในเครือข่ายบริการ สุขภาพจิตที่
การเชื่อมโยงนโยบายบริการสุขภาพลงสู่อำเภอ, ตำบล
แผนพัฒนาระบบบริการ สาขาบริการปฐมภูมิ
สรุปผลการประเมิน ยุทธศาสตร์สุขภาพระดับตำบล อำเภอเรณูนคร ปี 2554
แนวทางดำเนินงานสุขภาพภาคประชาชน ของกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ
นโยบายกรมสุขภาพจิต ปีงบประมาณ 2554
บูรณาการยุทธศาสตร์สุขภาพ ด้านพัฒนาสุขภาพกลุ่มวัยทำงาน
แนวทางการดำเนินงานสุขภาพจิต กลุ่มวัยทำงาน
ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554 ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554
DHS,FCT 3P + ข้อเสนอ.
โครงการลดความแออัดของผู้รับบริการผู้ป่วยนอก โรงพยาบาลชลบุรี
ประชาชน “อุ่นใจ” มีญาติทั่วไทย เป็นทีมหมอครอบครัว
คปสอ.เลิงนกทา เป็นองค์กรบริหารด้านสุขภาพที่มีประสิทธิภาพและโปร่งใส
แนวทางการพัฒนาหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดโรคฯ
สถานการณ์โรคติดต่อ อำเภอกำแพงแสน
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
Output , Outcome , Impact ของระบบสุขภาพ
ปลัดกระทรวงสาธารณสุข
ใบสำเนางานนำเสนอ:

รักษาราชการแทนปลัดกระทรวงสาธารณสุข นพ. ไพจิตร์ วราชิต รักษาราชการแทนปลัดกระทรวงสาธารณสุข

นโยบายของรักษาราชการแทนปลัด กสธ. สนองนโยบายของรัฐบาล เพื่อประโยชน์ของประชาชน ให้ความสำคัญกับโครงการพระราชดำริ และโครงการเฉลิมพระเกรียรติทุกโครงการ ส่งเสริมสนับสนุนบรรยากาศการทำงานที่มีความสุข ไว้วางใจ และความสามัคคีสมานฉันท์ สร้างขวัญกำลังใจ ครอบคลุมทุกระดับ และทุกสาขาวิชาชีพ บริหารงานโดยยึดหลักธรรมาภิบาล เน้นผลการทำงานเป็นหลัก ทั้งความก้าวหน้า ความดีความชอบ เพื่อให้สธ.มีศักดิ์ศรี เกียรติภูมิในด้านการทำงานที่เป็นประโยชน์กับประชาชน

นโยบายของรักษาราชการแทนปลัด กสธ. บริหารการเปลี่ยนแปลงอย่างเป็นระบบ เพื่อพัฒนาระบบงานให้สอดคล้องกับสภาพปัญหา เชื่อมโยงทำงานกับนานาชาติและสร้างคุณค่าของสาธารณสุขไทยในเวทีโลก เพื่อร่วมกันพัฒนาสุขภาพของทุกคน ผนึกกำลังกันการทำงานระหว่างกรมและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับ กสธ. (9 กรม, อภ., สปสช., สช., สวรส., สพฉ., สรพ., ฯลฯ) โดยเชื่อม 6 หน่วยงานองค์กรมหาชน เข้าเป็นองคาพยพเดียวกันกับ กสธ.

การขับเคลื่อนนโยบายสุขภาพประชาชนต้องมาก่อน 4

ระบบบริการสุขภาพของไทย โรงพยาบาลศูนย์/ทั่วไป (94) บริการตติยภูมิ จังหวัด ( 200,000-2M.) โรงพยาบาลชุมชน (724) บริการทุติยภูมิ อำเภอ (10,000-100,000) สถานีอนามัย (9,770) บริการปฐมภูมิ ตำบล (1,000-10,000) ศสมช สาธารณสุขมูลฐาน หมู่บ้าน (80,000) SELF CARE ครอบครัว ระบบบริการสุขภาพของไทย ศูนย์แพทย์เฉพาะทาง

ทุกฝ่ายร่วมใจเพื่อสุขภาพคนไทย กรมควบคุมโรค กรมอนามัย กรมการแพทย์ กรมแพทย์แผนไทยฯ กรมวิทย์ฯ กรมสุขภาพจิต กรมสนับสนุนบริการฯ อย. สำนักงานปลัดฯ บริการตติยภูมิ บริการทุติยภูมิ บริการปฐมภูมิ สาธารณสุขมูลฐาน SELF CARE ศูนย์แพทย์เฉพาะทาง สปสช. สช. สวรส. สสส.

แนวทางสุขภาพคนไทย สำนักงานปลัดฯ ศูนย์แพทย์เฉพาะทาง บริการตติยภูมิ รพท. / รพศ. บริการทุติยภูมิ รพช. บริการปฐมภูมิ รพ.สต. สาธารณสุขมูลฐาน SELF CARE ศูนย์แพทย์เฉพาะทาง เปลี่ยนถ่ายอวัยวะ (ตา,ไต) ดูแล กลุ่มป่วยซับซ้อน ดูแล กลุ่มป่วย ตรวจสุขภาพ คัดกรอง กลุ่มเสี่ยง กลุ่มปกติ ลดปัจจัยเสี่ยง ส่งเสริมสุขภาพ

โครงการตรวจสุขภาพประชาชน (คัดกรองโรค) รพ.สต. ต้องมีกิจกรรมที่เป็นรูปธรรม ประชาชนจับต้องได้โดยเฉพาะการส่งเสริมสุขภาพ และป้องกันโรค โครงการตรวจสุขภาพประชาชน (คัดกรองโรค) ผลการตรวจสามารถแยกประชาชน เป็น 3 กลุ่ม ปกติ เสี่ยง ป่วย

กลุ่มปกติ และกลุ่มเสี่ยง รพ. สต กลุ่มปกติ และกลุ่มเสี่ยง รพ.สต. ต้องดำเนินการส่งเสริมสุขภาพ ลดความเสี่ยงที่จะพัฒนาเป็นเป็น กลุ่มป่วย กลุ่มป่วย จะต้องส่งไปยัง รพช. ได้รับการรักษาที่เหมาะสม กลุ่มป่วย มีโรคที่มีความสลับซับซ้อนจะได้รับการดูแลโดย รพท./รพศ. Excellent center ที่มีความพร้อมจะให้บริการขั้นสูงเช่น organ transplantation อาจเริ่มที่ ตา และไต ก่อน

พันธมิตร ส. ทั้งหลายก็จะเข้ามาช่วยสนับสนุน สปสช. เรื่องงบประมาณการดำเนินงาน สสส. เรื่องกิจกรรมส่งเสริมสุขภาพ , การให้สุขศึกษา ประชาสัมพันธ์ สช. เรื่องการทำเวทีสาธารณะ สวรส. เรื่องงานวิจัยระบบสุขภาพ งบประมาณดำเนินการมาจากหลายแหล่ง เช่น SP2 , P&P , ท้องถิ่น , ชุมชน ฯลฯ