ระดับท้องถิ่น/พื้นที่

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
บูรณาการสู่ความสำเร็จ
Advertisements

เส้นทางการพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
ประกาศหลักเกณฑ์การบริหารกองทุนฯปี ๒๕๕๗
Research Mapping.
ทิศทางการพัฒนา “อำเภอป้องกัน ควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน”
เป้าหมายการให้บริการและยุทธศาสตร์กระทรวงสาธารณสุข
การดำเนินงานโรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน
การเสริมประสิทธิภาพการวัด และประเมินผลในชั้นเรียน
การประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ กับกฎหมายที่เกี่ยวข้อง
กลุ่มโภชนาการประยุกต์
ภาพรวมการจัดสรรงบประมาณในแต่ละโครงการของศูนย์ สช. ภาคกลาง ปี 2555
กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับแผนชุมชน
แนวทางการบริหารการจัดเก็บ ข้อมูล จปฐ. และ ข้อมูลพื้นฐาน ปี 2557
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การโดยสรุป 1 หน้า
ข้อเสนอการเปลี่ยนแปลงเพื่อสร้างความโปร่งใส ในกระบวนงานกระบวนการพัฒนาและคุ้มครองพิทักษ์สิทธิเยาวชน (การเสริมสร้างความเข้มแข็งสภาเด็กและเยาวชน) ของสำนักงานส่งเสริมสวัสดิภาพและพิทักษ์เด็ก.
ภารกิจและนโยบาย 6 ยุทธศาสตร์ 35 กลยุทธ์ ของ ส.อ.ศ. บัญญัติ สมสุพรรณ
คุณลักษณะที่ ๒ มีระบบระบาดวิทยาที่ดีในระดับอำเภอ
การสำรวจหา ค่ากลาง นโยบายรัฐบาล เรื่องการพัฒนาสุขภาพของ ประชาชน ประกาศเมื่อ 23 สิงหาคม จัดให้มีมาตรการสร้างสุขภาพโดยมี เป้าหมายเพื่อลดอัตราป่วย.
เอกสารประกอบการประชุมผู้บริหารกรมควบคุมโรค
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดต่อทั่วไป ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
ระดับพื้นฐาน (Learning /Development)
ประชุมเพื่อประสานแผน การทำงาน การกำหนดเป้าหมาย และการติดตามกำกับงาน
การพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ (District Health System)
การบริหารกองทุนสุขภาพตำบล
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
นโยบาย “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” เขตสาธารณสุข 4
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบล
การพัฒนาโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
แนวทางการบริหารงบประมาณสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคระดับพื้นที่
สรุปการประชุม เขต 10.
๒๕ ธ.ค. ๒๕๕๑ ณ โรงแรมมิราเคิล แกรนด์ คอนเวนชั่น กรุงเทพฯ
แผนหลัก สรุปทิศทาง. สสส. เปรียบเสมือน “น้ำมันหล่อลื่น” ที่ช่วยให้ ฟันเฟืองของกลไกสร้างเสริมสุขภาพทำงาน อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด.
สำนักประสานการพัฒนาโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
สรุปแนวทาง การระดมความคิดเห็น กลุ่มย่อยที่ 4
ปัญหาและแนวทางการดำเนินงาน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล (รพ. สต
นพ.สมชาย เชื้อเพชรโสภณ ผู้ตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข เขต 13
การบริหารเชิงยุทธศาสตร์
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
พัฒนาคุณภาพเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอและหน่วยบริการ ปฐมภูมิ
การจัดทำหรือการอนุมัติ แผนงานหรือโครงการ โดยไม่เป็นไปตามวัตถุประสงค์
คำรับรองการปฏิบัติ ราชการ กรมอนามัย ปี 2549 จำนวน 20 ตัวชี้วัด.
MIND MAPงานสุขภาพศึกษาและพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ
คณะที่ ๔ การพัฒนาสุขภาพ ภาคประชาชน ปี 2552 คณะที่ ๔ การพัฒนาสุขภาพ ภาคประชาชน ปี 2552 นพ. นิทัศน์ รายยวา ผู้ตรวจราชการ กระทรวงสาธารณสุข.
เส้นทางการพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
ความคาดหวังกับรพ.สต.มิติใหม่ของการพัฒนางานสาธารณสุข
นโยบายการดำเนินงาน “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” ปีงบประมาณ 2556
หลักการและเหตุผล หน่วยงานภาครัฐ/ เอกชน ต่างคนต่างทำงานไม่ได้เชื่อมประสานการทำงานเป็นเครือข่าย โรคและภัยสุขภาพเกิดขึ้นในทุกพื้นเพียงแต่แตกต่างกันในรายละเอียด.
การป้องกันและควบคุมโรคในเขตบริการสุขภาพ
(ร่าง) แผนปฏิบัติราชการประจำปี 2553 สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา
มุมมองการพัฒนาและขับเคลื่อน งานกองทุนฯอย่างยั่งยืน
แนวทางการปฏิบัติภารกิจ ของสถานีอนามัย
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
3.การจัดทำงบประมาณ.
องค์ประกอบและระยะเวลาที่ เปลี่ยนแปลง  จากมีวาระ 2 ปี เป็น 4 ปี  เพิ่ม ผู้แทนหน่วยรับเรื่องร้องเรียน อิสระ หรือศูนย์ประสานงานภาค ประชาชน หรือองค์กรเอกชนด้าน.
วิสัยทั ศน์ เป็นองค์กรที่เป็นเลิศด้าน การแก้ไขปัญหาสุขภาพจิตจาก แอลกอฮอล์ของประเทศและ พัฒนาระบบบริการสุขภาพจิต และจิตเวชในเครือข่ายบริการ สุขภาพจิตที่
เทศบาลตำบลบัลลังก์ จดหมายข่าว ระเบียบกองทุนหลักประกันสุขภาพ
พรทิพย์ ศิริภานุมาศ กองแผนงาน กรมควบคุมโรค
หลักเกณฑ์การประเมินกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
แนวทางดำเนินงานสุขภาพภาคประชาชน ของกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ
นโยบายกรมสุขภาพจิต ปีงบประมาณ 2554
ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554 ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554
ตัวอย่างกิจกรรมภายใต้บทบาทของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
การจัดการด้านสุขภาพของ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น สู่เมืองไทยแข็งแรง รัฐบาลได้ประกาศให้ “ เมืองไทยแข็งแรง ” โดยกำหนด เป้าหมายให้คนไทยแข็งแรงถ้วน หน้า ในปี
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ NATIONAL HEALTH SECURITY OFFICE การบริหารงบกองทุนฯ ปีงบประมาณ 2555 เสนอในการประชุมชี้แจงจังหวัด ระหว่างวันที่ 5-6 ตุลาคม.
Roadmap : การขับเคลื่อนระดับพื้นที่ เป็นอย่างไร ??
และการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ ประจำปี ๒๕๕๕ สาธารณสุขอำเภอป่าติ้ว
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่
“สังคมคุณภาพเพื่อผู้สูงอายุ”
ประกอบด้วย จังหวัด 1. ลำพูน 2. อุบลราชธานี 3. สุพรรณบุรี 4. สุรินทร์
สำนักงานป้องกันควบคุม โรคที่ 2 จังหวัดสระบุรี. แรงบันดาลใจ  การกระจายอำนาจให้แก่องค์กร ปกครองส่วนท้องถิ่นเข้ามามี บทบาทในการให้บริการ สาธารณะ  ประชาชนสามารถดูแลสุขภาพ.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ระดับท้องถิ่น/พื้นที่ แนวทางการบริหาร งบประมาณ P&P ระดับท้องถิ่น/พื้นที่ (กองทุน อบต./เทศบาล) ปี2552 ขอบคุณ...ที่ให้ หลักประกันสุขภาพกับผมและเพื่อนๆ โดย..นายแพทย์ประทีป ธนกิจเจริญ รองเลขาธิการ สปสช.

อปท.มีภารกิจและอำนาจหน้าที่ตามกฎหมาย และมีศักยภาพความพร้อมมากขึ้นมาก สถานการณ์และความจำเป็น กระจายอำนาจให้ อปท.และชุมชน เป็นทิศทางของประเทศ และกำหนดไว้ในกฎหมายหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ปัญหาสาธารณสุขมีความซับซ้อนและต้องการระบบงานและกลไกที่มีประสิทธฺภาพและหลากหลายมากขึ้น อปท.มีภารกิจและอำนาจหน้าที่ตามกฎหมาย และมีศักยภาพความพร้อมมากขึ้นมาก

หลักการและแนวคิด จัดตั้งกองทุนประจำทุกพื้นที่ เพื่อเป็นกลไกสนับสนุนการดำเนินงานและแก้ไขปัญหาสาธารณสุขในชุมชน อย่างต่อเนื่อง เน้นการสร้างสุขภาวะของประชาชนและชุมชน โดยการมีส่วนร่วมของประชาชน อปท. และสาธารณสุข กระจายอำนาจให้ อปท.ภายใต้เงื่อนไขและการสนับสนุนทางวิชาการจากหน่วยงานต่างๆ

มาตรา 47 พรบ.หลักประกันสุขภาพฯ มาตรา 47 พรบ.หลักประกันสุขภาพฯ “เพื่อสร้างหลักประกันสุขภาพให้กับบุคคลในพื้นที่ โดยส่งเสริมกระบวนการมีส่วนร่วมตามความพร้อม ความเหมาะสม และความต้องการของประชาชนในท้องถิ่น ให้คณะกรรมการสนับสนุนและประสานกับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น กำหนดหลักเกณฑ์ เพื่อให้องค์กรดังกล่าวเป็นผู้ดำเนินงาน และบริหารจัดการระบบหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่โดยให้ได้รับค่าใช้จ่ายจากกองทุน (คณะกรรมการฯ มีมติเมื่อ 27 กพ. 2549)

พรบ. กำหนดแผนและขั้นตอนกระจายอำนาจ ให้แก่องค์ปกครองส่วนท้องถิ่น พ. ศ พรบ. กำหนดแผนและขั้นตอนกระจายอำนาจ ให้แก่องค์ปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ. 2542 มาตรา 16 อำนาจหน้าที่ของเทศบาล เมืองพัทยาและ อบต. (10)   การสังคมสงเคราะห์ และการพัฒนาคุณภาพชีวิต เด็ก สตรี คนชรา และผู้ด้อยโอกาส (19)  การสาธารณสุข การอนามัยครอบครัว และการรักษาพยาบาล มาตรา 17 อำนาจหน้าที่ของ อบจ. (19) การจัดให้มีโรงพยาบาลจังหวัด การรักษาพยาบาล การป้องกันและควบคุมโรคติดต่อ (27) การสังคมสงเคราะห์ และการพัฒนาคุณภาพชีวิต เด็ก สตรี คนชรา และผู้ด้อยโอกาส

บันทึกความร่วมมือ 7 หน่วยงาน เมื่อ 19 มีนาคม 2550 เพื่อสนับสนุนการดำเนินงานของ อปท. ในการบริหารจัดการระบบหลักประกันสุขภาพและสวัสดิการชุมชนในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ ( กระทรวงสาธารณสุข,พม.,มท., สปสช., สมาคม อบจ.แห่งประเทศไทย, สมาคมสันนิบาตเทศบาลแห่งประเทศไทย และสมาคม อบต. แห่งประเทศไทย)

หนังสือที่ มท.0891.3/ว1110 ลวท. 3 เมย.2550 ให้ อปท. สมทบงบประมาณเข้าระบบหลักประกันสุขภาพฯ ตามประกาศคณะกก.หลักประกันสุขภาพแห่งชาติ โดยตั้งแต่งบ2550 เป็นต้นไป ให้ อบต./เทศบาล ตั้ง งบประมาณสมทบไว้ในรายจ่ายงบกลางประเภทรายจ่ายตามข้อผูกพัน

สรุปภาพรวมการดำเนินงาน - สปสช. โอน 37.50 บ./หัว – อบต./เทศบาล สมทบ 10,20,50 % ส่งเสริมสุขภาพ คัดเลือก อบต./เทศบาลที่ผ่านเกณ์ – แต่งตั้ง กก.บริหารกองทุน – พัฒนาศักยภาพ กก. จัดทำแผนที่ยุทธศาตร์สุขภาพชุมชน ประเมินผล ฟื้นฟูสมรรถภาพ กองทุนหลักประกันสุขภาพอบต. และเทศบาล ป้องกันโรค คณะ กก.บริหารกองทุน ผู้ป่วยเรื้อรัง กลุ่มเสี่ยง เด็ก/เยาวชน สตรี คนพิการ ผู้สูงอายุ แผนสุขภาพชุมชน ประชาชน ชุมชนมีส่วนร่วม

ปี2551 อบต.หรือเทศบาลที่สนใจและมีความพร้อม (2,682 แห่ง) ผลการดำเนินงาน ปี 49-50 อบต.หรือเทศบาลนำร่องอำเภอละแห่ง (880 แห่ง) ปี2551 อบต.หรือเทศบาลที่สนใจและมีความพร้อม (2,682 แห่ง) ปี2552 เป็นต้นไป อบต.หรือเทศบาลทุกแห่งที่สนใจ และมีความพร้อมตามเกณฑ์ที่กำหนด (3,996 แห่ง หรือ ~50% ของ อปท. ทั้งหมด)

ระบบประเมินกองทุนฯ ประเมินภาพรวมผลสัมฤทธิ์ของกองทุนฯต่อนโยบายสาธารณะและการพัฒนาชุมชน โดยคณะวิจัยของ 9 สถาบันอุดมศึกษา (นำโดยคณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์) ศึกษาการบริหารจัดการและรวบรวมนวัตกรรมที่เกิดขึ้นของกองทุนฯ โดยคณะวิจัยของ วพบ. และ วสส. 41 แห่ง ของกระทรวงสาธารณสุข ประเมินผลการดำเนินการและผลกระทบทางด้านสุขภาพที่เกิดขึ้นของกองทุนฯ โดยคณะวิจัยของเครือข่ายคณะสาธารณสุข มหาวิทยาลัยต่างๆ (นำโดยคณะสาธารณสุข มหาวิทยาลัยมหิดล)

บทบาทของ สปสช. สาขาจังหวัด ให้หน่วยงานสาธารณสุขในพื้นที่ให้การสนับสนุน ติดตาม และใช้ประโยชน์จากกองทุนฯ โดยมีทีมวิทยากรจังหวัด/ทีมแผนที่ยุทธศาสตร์จังหวัด สนับสนุนการพัฒนาศักยภาพกรรมการกองทุนฯ สนับสนุนให้ทุกพื้นที่มีการจัดอบรมการบริหารจัดการแก่กรรมการกองทุนฯ โดยใช้แผนที่ยุทธศาสตร์เป็นเครื่องมือ มีการจัดทำข้อมูลสุขภาพชุมชน มีแผนดำเนินงานและกิจกรรมโดยมี 5 กลุ่มเป้าหมายเข้าร่วม และมีการจัดทำรายงานไตรมาส รายปี

สิ่งที่อยากให้เกิดในปี 2552 หน่วยงานสาธารณสุขในพื้นที่ (สสจ. สสอ. สอ. รพช.) รับรู้ เข้าใจ และร่วมติดตามสนับสนุนการดำเนินงานในพื้นที่อย่างเข้มแข็งโดยทีมวิทยากรจังหวัด ขยายพื้นที่ อบต. หรือเทศบาลที่มีความพร้อมและสนใจร่วมดำเนินงานปี 2552 (มีงบสมทบ/มีคณะกก.บริหาร/มีข้อมูลสุขภาพ/มีการทำแผนที่ยุทธศาสตร์/มีกิจกรรมพัฒนากรรมการบริหาร) ทุกพื้นที่มีการอบรมการบริหารจัดการแก่คณะกรรมการบริหารกองทุนฯ โดยใช้แผนที่ยุทธศาสตร์เป็นเครื่องมือ มีการจัดทำข้อมูลสุขภาพชุมชน/มีแผนดำเนินงาน/มี 5 กลุ่มเป้าหมายเข้าถึงการบริการสุขภาพดีขึ้น/มีการจัดทำรายงานไตรมาสและรายปีผ่านทางอิเลคโทรนิค/มีการติดตามประเมินผลต่อเนื่อง