สถานการณ์ผู้สูงอายุไทย

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ข้อเสนอแนะจากการทำประชาพิจารณ์ (ร่าง) แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาประเทศไทยให้เป็นศูนย์กลางสุขภาพนานาชาติ (พ.ศ ) 31 มกราคม 2554 ณ โรงแรมแอมบาสเดอร์
Advertisements

การดำเนินงานป้องกันควบคุม โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
ระเบียบวาระการประชุม คณะกรรมการวางแผนและ ประเมินผล สาธารณสุข จังหวัดลำปาง ครั้งที่ 5 / มิถุนายน 2553.
กรอบการนำเสนอ สถานการณ์ด้านส่งเสริมสุขภาพและ อนามัยสิ่งแวดล้อม
การเปลี่ยนแปลงเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ ปลัดกระทรวงสาธารณสุข
สัปดาห์ที่ 2 เรื่อง โครงการสุขศึกษา
การจัดทำระบบข้อมูลสุขภาพพื้นที่ : จังหวัดลำพูน
ไทยสบาย หรือไทยสปายะ (Thai Spaya)
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล คุณภาพคือคำตอบสุดท้าย
การอบรม อสม. รุ่น 2 เป้าหมาย อสม.รุ่น 1 - อสมช. ด้านโรคความดันโลหิตสูง
แผนภูมิโครงสร้างส่วนราชการของกระทรวงสาธารณสุข
กระทรวงสาธารณสุข (ร่าง)โครงสร้างส่วนราชการของกระทรวงสาธารณสุข
แนวทางการตรวจราชการและนิเทศงานกรณีปกติระดับกระทรวง กระทรวงสาธารณสุข เขตตรวจราชการที่ 5 ประจำปีงบประมาณ
แต่งตั้งคณะกรรมการบริหาร และพัฒนาโรงพยาบาล ส่งเสริมสุขภาพตำบล
โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคอาหารลดหวาน มัน เค็ม ลดอ้วน ลดโรค
นโยบายการตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข ภารกิจ(3)ประเด็นหลัก(5)หัวข้อ (19) 1. การตรวจติดตาม นโยบายและปัญหา เร่งด่วนของกระทรวง สาธารณสุข 1. การดำเนินงานเพื่อ.
สถานการณ์ ผู้สูงอายุไทย ผศ.นันทยา อุดมพาณิชย์.
แนวทางการบริหารจัดการระบบประกันสุขภาพ ในภาพรวม ปีงบประมาณ 2551
การพัฒนาศักยภาพ อสม. ปี 2554
ความหมายและกระบวนการ
การคัดเลือก อสม.ดีเด่นระดับชาติ ปี ๒๕๕๔ สาขาการส่งเสริมสุขภาพ
การบริหารงบบริการสร้างเสริมสุขภาพและ ป้องกันโรคทั่วไป (ยกเว้นค่าบริการทันตกรรมส่งเสริมป้องกัน)
แผนการประชุม จัดทำแผนปฏิบัติการ ๒๕๕๖
วันที่ถ่ายทอด มีนาคม 2548 สถานที่ถ่ายทอด โรงแรมเทวราช อ.เมือง จ.น่าน
แนวคิด การดำเนินงาน โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
นโยบายการดำเนินงานโรคเรื้อรัง ตัวชี้วัด: จังหวัดมีการดำเนินงานป้องกันและควบคุมโรคเรื้อรัง (สุขภาพดีวิถีชีวิตไทย) ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน โดย รัตนาภรณ์ ฮิมหมั่นงาน.
นโยบาย และแนวทางการแก้ไขปัญหาโรคเบาหวาน ระดับประเทศและภูมิภาค
แนวทางการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ
NCD and Aging to CCVD System Manager
งบประมาณเพื่อการวิจัย ตามวาระการวิจัยแห่งชาติ
นพ.วินัย ศรีสอาด สถาบันเวชศาสตร์ผู้สูงอายุ กรมการแพทย์
การประชุมเชิงปฏิบัติการ การพัฒนางานในเครือข่ายคลินิกผู้สูงอายุ โดย สถาบันเวชศาสตร์ผู้สูงอายุ กรมการแพทย์ วันที่ 31 พฤษภาคม – 1 มิถุนายน 2553 ณ.
การพัฒนาคลินิกผู้สูงอายุ
คลินิกผู้สูงอายุ อดีต ปัจจุบัน อนาคต
การพัฒนาโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
LOGO งาน High Light การพัฒนา สุขภาพ จังหวัดลพบุรี ประจำปี 2552.
นายแพทย์ไพจิตร์ วราชิต รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
๒๕ ธ.ค. ๒๕๕๑ ณ โรงแรมมิราเคิล แกรนด์ คอนเวนชั่น กรุงเทพฯ
ภารกิจ อสม.งานประจำ/งานนโยบาย
นโยบาย ปฐมภูมิ ลดแออัด พัฒนาคุณภาพบริการ
แนวทางการดำเนินงานตามนโยบายสำคัญของกระทรวงสาธารณสุข
แผนส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค กลุ่มวัยผู้สูงอายุ 2557
เบาหวาน ผลิตโดย...กลุ่มงานสุขศึกษา โรงพยาบาลยะลา.
นโยบาย ส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค ของกระทรวงสาธารณสุข
ทิศทางอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน ปี 2556
นโยบายด้านส่งเสริมสุขภาพ กลุ่มผู้สูงอายุ
คลินิกผู้สูงอายุต้นแบบ (Geriatric Clinic Model) โรงพยาบาลอุดรธานี
โครงการเฉลิมพระเกียรติ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวเนื่องในโอกาสพระราชพิธีมหามงคล เฉลิมพระชนมพรรษา ๗ รอบ ๕ ธันวาคม ๒๕๕๔ สตรีไทย ห่วงใยสุขภาพ.
การป้องกันและควบคุมโรคในเขตบริการสุขภาพ
บุญเรือง ขาวนวล คณะวิทยาการสุขภาพและการกีฬา
ภาพฝัน ? การป้องกันควบคุมโรคในพื้นที่
เทรนด์ “สุขภาพโลก” ในปี 2555
ส่งเสริมสัญจร.
“การชะลอภาวะไตวายเรื้อรัง”
โครงการหมู่บ้าน / ชุมชน ลดหวาน มัน เค็ม ลดอ้วน ลดโรค
การจัดบริการสุขภาพ ผู้สูงอายุไทย
องค์ประกอบและระยะเวลาที่ เปลี่ยนแปลง  จากมีวาระ 2 ปี เป็น 4 ปี  เพิ่ม ผู้แทนหน่วยรับเรื่องร้องเรียน อิสระ หรือศูนย์ประสานงานภาค ประชาชน หรือองค์กรเอกชนด้าน.
วิสัยทัศน์ อบต. หนองหญ้า “ ส่งเสริมการศึกษา พัฒนาแหล่งน้ำ เสริมสร้างคุณภาพชีวิต ชุมชนเข้มแข็ง แหล่งท่องเที่ยวก้าวไกล สืบสานวัฒนธรรมไทย การบริหาร โปร่งใส.
สรุปผลการประเมิน ยุทธศาสตร์สุขภาพระดับตำบล อำเภอเรณูนคร ปี 2554
ภาวะแทรกช้อน โรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง นพ.อำพล เวหะชาติ
นายแพทย์ปรเมษฐ์ กิ่งโก้ นายแพทย์สาธารณสุขจังหวัดสกลนคร ๒๔ กันยายน ๒๕๕๖.
สถานภาพกำลังคนกระทรวงสาธารณสุข
ผู้สูงอายุ ผู้พิการ และผู้ด้อยโอกาส
การสร้างความเข้มแข็ง ให้แก่ผู้สูงอายุ
ทิศทางการพัฒนางานสุขศึกษาและพฤติกรรมสุขภาพ
การคัดกรองการมองเห็นในผู้สูงอายุ Z008 การคัดกรองพฤติกรรมสุขภาพพึงประสงค์ในผู้สูงอายุ พฤติกรรมสุขภาพพึ่งประสงค์ พฤติกรรมสุขภาพไม่พึ่งประสงค์
1. กระบวนการบริหารจัดการด้านการแพทย์และ สาธารณสุข 2. กระบวนการส่งเสริมและสนับสนุนระบบบริการด้าน การแพทย์และสาธารณสุข 3. กระบวนการส่งเสริมและพัฒนาระบบบริการด้าน.
หน่วยงานภาครัฐ, อปท. และเอกชนมีสนับสนุน งบประมาณ, ประสานงาน กัน อย่างต่อเนื่องและ เข้มแข็ง ( นาจอมเทียน, บางเสร่, พูลตาหลวง, แสมสาร, สัตหีบ ) มีระบบข้อมูลที่มี
แนวทางการพัฒนาหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดโรคฯ
วันรับรางวัล อสม.ดีเด่นระดับชาติประจำปี 2553 ณ หอประชุมเจ้าพระยา กองทัพเรือ กรุงเทพฯ วันที่ 24 มิถุนายน 2553.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

สถานการณ์ผู้สูงอายุไทย

ดอกลำดวนคือสัญลักษณ์ผู้สูงอายุไทย ความหมายคือ มีความคงทนและมีกลิ่นหอมนาน

ศาสตราจารย์นายแพทย์เสม พริ้งพวงแก้ว ผู้รับรางวัลผู้สูงอายุดีเด่น ปีพ.ศ. ๒๕๕๑ ปัจจุบันอายุ ๙๘ ปี

สถานการณ์ด้านสุขภาพผู้สูงอายุ

ตราสัญลักษณ์ผู้สูงอายุไทย

โรคเรื้อรังที่พบบ่อยในผู้สูงอายุไทย 1.ความดันโลหิตสูง 2.โรคเบาหวาน 3.โรคหัวใจ 4.โรคอัมพาต/อัมพฤกษ์ 5.โรคหลอดเลือดสมองตีบ 6.โรคมะเร็ง

3. Incontinence การกลั้นปัสสาวะ/อุจจาระ Geriatric Syndrome 1.Dementia สมองเสื่อม 2. Fall หกล้ม 3. Incontinence การกลั้นปัสสาวะ/อุจจาระ 4. Immobility ปัญหาการเคลื่อนไหว ข้อเข่าเสื่อม

หน่วยงานในกระทรวงสาธารณสุขที่ดำเนินงานด้านผู้สูงอายุ กรมการแพทย์ : สถาบันเวชศาสตร์ผู้สูงอายุ กรมอนามัย : กลุ่มอนามัยผู้สูงอายุ ในสำนักส่งเสริมสุขภาพ กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ : หน่วยงานในสำนักพัฒนาระบบบริการสุขภาพ กรมสุขภาพจิต : หน่วยงานในสำนักพัฒนาสุขภาพจิต สำนักงานนโยบายและแผน : ประสานงานด้านนโยบายข้อมูลผู้สูงอายุ กรมพัฒนาแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก : การรักษาด้วยแพทย์แผนไทย กรมควบคุมโรค : สำนักโรคไม่ติดต่อ กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์

คณะกรรมการงานผู้สูงอายุกระทรวงสาธารณสุข 1. คณะกรรมการอำนวยการงานผู้สูงอายุ รมต.สาธารณสุข ประธาน ปลัดกระทรวงสาธารณสุข รองประธาน รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข เลขานุการ 2. คณะกรรมการดำเนินงาน ปลัดกระทรวงสาธารณสุข ประธาน รองปลัดกระทรวง รองประธาน ผอ.สนย เลขานุการ 3. คณะเลขานุการ

เว็บไซด์สถาบันเวชศาสตร์ผู้สูงอายุ www.agingthai.org

โขน ละครเปรียบเหมือนอาภรณ์ของวัฒนธรรมไทย ผู้สูงวัยคือหลักชัยของสังคม

ขอบพระคุณ วันวานในน้ำมีปลา วันข้างหน้าในสังคมมีผู้สูงวัย เปลี่ยนความห่วงใยเป็นการปฏิบัติ อย่างจริงจังเพื่อคุณภาพชีวิตที่ดี ของผู้สูงอายุที่เรารัก ขอบพระคุณ