คณะทำงานกลุ่มที่ 1 ลำปาง เชียงราย อุตรดิตย์ ลำพูน พะเยา

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
รายงานข้อสั่งการ ข้อสั่งการ ๑. การพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิ
Advertisements

สกาวรัตน์ พวงลัดดา สำนักงานเลขานุการคณะกรรมการสุขภาพจิตแห่งชาติ
เส้นทางการพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
กายภาพบำบัด ใน โรงพยาบาลสร้างเสริมสุขภาพตำบล
จะต้องผ่านเกณฑ์ด้านการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุระยะยาวที่กำหนดไว้ทั้ง 4 ข้อ
บทเรียน Best Practice ของระบบการดูแลผู้สูงอายุระยะยาว
สวัสดีครับ.
ระบบอันพึงประสงค์และการจัดบริการ อาชีวอนามัยในสถานีอนามัย
ผลการพัฒนาระบบการคัดกรองภาวะแทรกซ้อนทางไตในผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
ผู้อำนวยการสำนักการแพทย์
ระดับพื้นฐาน (Learning /Development)
นพ.ก้องภพ สีละพัฒน์ ผู้นิเทศงานปฐมภูมิ
โรงพยาบาล หน่วยบริการ.
กลุ่มงานเวชปฏิบัติครอบครัวและชุมชน
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
1. 1. กลุ่มองค์กร ปกครองส่วน ท้องถิ่น 2. เจ้าหน้าที่ รพ. สต และ เจ้าที่ในรพ. 3. ครู
การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ
นพ.วินัย ศรีสอาด สถาบันเวชศาสตร์ผู้สูงอายุ กรมการแพทย์
การประชุมเชิงปฏิบัติการ การพัฒนางานในเครือข่ายคลินิกผู้สูงอายุ โดย สถาบันเวชศาสตร์ผู้สูงอายุ กรมการแพทย์ วันที่ 31 พฤษภาคม – 1 มิถุนายน 2553 ณ.
คลินิกผู้สูงอายุ อดีต ปัจจุบัน อนาคต
สิ่งที่คาดว่าจะพัฒนาในการจัดคลินิกผู้สูงอายุ
กลุ่ม 3 โรงพยาบาลชุมชนที่มีแพทย์ดำเนินการ
กลุ่ม 4 รพช.( ไม่มีแพทย์ ดำเนินการ ) นำเสนอโดย นางสมรัก ชักชวน รพ. ตรอน จ. อุตรดิตถ์
รพศ. / รพท. ไม่มีแพทย์ดำเนินงาน
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบล
ระดับท้องถิ่น/พื้นที่
เขต 15 เขต 15: เชียงใหม่ ลำพูน ลำปาง แม่ฮ่องสอน.
การดำเนินการ รพ.สต. เขตตรวจราชการ ที่ 12
สรุปการประชุม เขต 10.
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
น.พ. ศิริวัฒน์ ทิยพ์ธราดล
นโยบาย ปฐมภูมิ ลดแออัด พัฒนาคุณภาพบริการ
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
พัฒนาคุณภาพเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอและหน่วยบริการ ปฐมภูมิ
ทิศทาง การทำงาน๒๕๕๔ นพ.นิทัศน์ รายยวา 1.
บุคลากรของเรา นวก.สาธารณสุข 3 คน พยาบาลเวชปฏิบัติ 2 คน
เส้นทางการพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
ความคาดหวังกับรพ.สต.มิติใหม่ของการพัฒนางานสาธารณสุข
คลินิกผู้สูงอายุต้นแบบ (Geriatric Clinic Model) โรงพยาบาลอุดรธานี
กลุ่มงานส่งเสริมสุขภาพ สสจ.อุดรธานี
กลวิธีการดำเนินงาน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ
สรุปผลการส่งเสริมพัฒนาการเด็กวัย ๐ - ๕ ปี ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก
คู่มือการดูแลทางจิตเวช เพื่อป้องกันปัญหาการฆ่าตัวตาย
ภาพฝัน ? การป้องกันควบคุมโรคในพื้นที่
ย.๔ พัฒนาระบบบริการสุขภาพวัยรุ่นในสถานบริการ
บทเรียนการดำเนินการให้บริการบำบัดผู้เสพยาสูบ แบบครบวงจร
แนวทางการปฏิบัติภารกิจ ของสถานีอนามัย
การจัดบริการสุขภาพ ผู้สูงอายุไทย
การประเมินคลินิกNCD คุณภาพ
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
แนวทางการดำเนินงานผู้สูงอายุจังหวัดเชียงใหม่ ปี 2556
คู่มือการบันทึกข้อมูล 7 แฟ้ม กลุ่มข้อมูลการส่งต่อผู้ป่วย
องค์ประกอบและระยะเวลาที่ เปลี่ยนแปลง  จากมีวาระ 2 ปี เป็น 4 ปี  เพิ่ม ผู้แทนหน่วยรับเรื่องร้องเรียน อิสระ หรือศูนย์ประสานงานภาค ประชาชน หรือองค์กรเอกชนด้าน.
วิสัยทั ศน์ เป็นองค์กรที่เป็นเลิศด้าน การแก้ไขปัญหาสุขภาพจิตจาก แอลกอฮอล์ของประเทศและ พัฒนาระบบบริการสุขภาพจิต และจิตเวชในเครือข่ายบริการ สุขภาพจิตที่
การเชื่อมโยงนโยบายบริการสุขภาพลงสู่อำเภอ, ตำบล
แผนพัฒนาระบบบริการ สาขาบริการปฐมภูมิ
นิยาม ศูนย์ให้คำปรึกษาคุณภาพ (Psychosocial Clinic) หน่วยบริการระดับโรงพยาบาลชุมชนที่มีการจัดบริการดูแล ช่วยเหลือทางสังคมจิตใจทุกกลุ่มวัย โดยมีองค์ประกอบ.
การพัฒนางานสุขภาพจิต วัยทำงาน - สูงอายุ
Health Referral System for Care of People with Diabetics foot
ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554 ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554
การพัฒนาการดำเนินงาน Service Plan เขตบริการสุขภาพที่ 1 สาขาตา
สกลนครโมเดล.
สรุปประเด็น เรื่อง แนวคิดการจัดการรายกรณีเพื่อการดูแลต่อเนื่อง

ผู้สูงอายุ ผู้พิการ และผู้ด้อยโอกาส
ประสบการณ์ การทำงานเครือข่ายชมรมญาติ นางเพลินพิศ จันทรศักดิ์ นักสังคมสงเคราะห์เชี่ยวชาญ โรงพยาบาลศรีธัญญา นา.
คณะกรรมการการดูแลผู้ป่วยโรคจิตเภท
ประชาชน “อุ่นใจ” มีญาติทั่วไทย เป็นทีมหมอครอบครัว
คปสอ.เลิงนกทา เป็นองค์กรบริหารด้านสุขภาพที่มีประสิทธิภาพและโปร่งใส
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ปัญหา อุปสรรคและข้อเสนอแนะ การดำเนินงานคลินิกผู้สูงอายุ ใน โรงพยาบาลศูนย์ โรงพยาบาลทั่วไป คณะทำงานกลุ่มที่ 1 ลำปาง เชียงราย อุตรดิตย์ ลำพูน พะเยา เพชรบูรณ์ สุโขทัย แม่ฮ่องสอน อาจารย์ประจำกลุ่ม รศ.นพ.ประเสริฐ อัสสันตชัย คณะแพทยศาสตร์ ศิริราชพยาบาล

1. ปัญหา อุปสรรคและข้อเสนอแนะ 1. บุคลากร บางแห่งไม่มีแพทย์ประจำ บางแห่งไม่มีพยาบาลประจำ บางแห่งต้องการเจ้าหน้าที่เพิ่มขึ้น หลายแห่งมีเฉพาะพยาบาลไม่มีแพทย์ ไม่มีเจ้าหน้าที่สหสาขาวิชาชีพที่เป็นทีมงาน 2. องค์ความรู้ ยังขาดองค์ความรู้ (แต่ขณะนี้ยังสามารถขวนขวายหาเอา เองได้) แต่ภาพรวมยังต้องการการสนับสนุน ให้มีการฝึกอบรมเฉพาะทาง สำหรับแพทย์และพยาบาล

1.ปัญหา อุปสรรคและข้อเสนอแนะ 3. งบประมาณ: ไม่มีงบประมาณสนับสนุนโดยตรง - สามารถประสานงานกับ อปท. เพื่อของบประมาณ - ควรมีงบสนับสนุนจากสถาบันเวชศาสตร์ผู้สูงอายุ, สปสช. ควรให้การสนับสนุนต่อรายผู้ป่วย 4. สถานที่ - ไม่มีสถานที่เป็นของตนเอง (คลินิกกาฝาก?) - ผู้ป่วยรับยาลำบาก อาจต้องเดินไกล (ต้องการให้มีการบริการแบบ One stop service)

2. รูปแบบการดำเนินการคลินิกผู้สูงอายุ ส่วนใหญ่เปิดคลินิก 1 ครั้งต่อสัปดาห์ สามารถขยายทุกวันได้ ให้บริการตรวจ โดยมีการประเมินผู้ป่วย Comprehensive Geriatric assessment ให้บริการคัดกรองภาวะสุขภาพ ทั้งจากผู้ป่วย OPD และในชุมชน มีการจัดตั้งชมรมผู้สูงอายุ (ความร่วมมือกับเวชกรรมสังคม) ให้การดูแลพิเศษในผู้ป่วยที่มีปัญหาซับซ้อนและให้บริการ Home Healthcare จัดกิจกรรมส่งเสริมสุขภาพในชุมชน

3. รูปแบบการดำเนินงานคลินิกผู้สูงอายุในฝัน สามารถเปิดให้บริการทุกวัน มีการดูแลผู้ป่วยแบบองค์รวม เน้น Health promotion ให้การดูแลผู้ป่วยทั้งส่งเสริม ป้องกัน ฟื้นฟู และรักษา จัดให้บริการแบบ One Stop Service มีเครือข่ายแบบสหสาขาวิชาชีพในโรงพยาบาล และมี Network กับองค์กรภายนอกโรงพยาบาล มีการดูแลผู้ป่วยอย่างต่อเนื่อง ครบวงจร รวมทั้งการให้บริการปรึกษาทางโทรศัพท์ มีการเชื่อมโยงระหว่าง อพส. และ พม. เป็นที่พักผ่อน พบปะสังสรรค์ สโมสรของผู้สูงอายุ

4. เครือข่ายควรมีกิจกรรมใดบ้าง PCU ควรมีการคัดกรองโรคของผู้สูงอายุ มีชมรมผู้สูงอายุที่เข้มแข็ง มีกิจกรรมที่ต่อเนื่อง มีเครือข่ายในการให้การดูแลผู้สูงอายุ เช่น รพสต. โดยมีเวชกรรมสังคมเป็นตัวเชื่อม มีสหสาขาวิชาชีพในโรงพยาบาลให้การดูแลผู้สูงอายุ มีการปรึกษาโรคเฉพาะทาง ในโรคที่ซับซ้อน ระหว่าง PCT

คนละไม้คนละมือ