ผู้สูงอายุไทยในทศวรรษหน้า

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การปฏิรูประบบบำเหน็จบำนาญ เกี่ยวข้องกับ กบข. อย่างไร
Advertisements

เตรียมพร้อมกายใจ เพื่อวัยเกษียณ. เตรียมพร้อมกายใจ เพื่อวัยเกษียณ.
การปฏิรูประบบบำเหน็จบำนาญ เกี่ยวข้องกับ กบข. อย่างไร
ดร. พงษ์เทพ สันติกุล คณะสังคมสงเคราะห์ศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
ประกาศหลักเกณฑ์การบริหารกองทุนฯปี ๒๕๕๗
Internal Medicine Service in I-San:
สัปดาห์ที่ 2 เรื่อง โครงการสุขศึกษา
สถานการณ์สำรวจอนามัยและสวัสดิการ (สอส.) ที่เกี่ยวข้องกับการแพทย์แผนไทย
ระบบข้อมูลการป่วย ระบบงานที่เกี่ยวข้องกับข้อมูลสาเหตุภายนอก ที่ทำให้บาดเจ็บ ระบบรายงาน ระบบฐานข้อมูลผู้ป่วยในรายบุคคล.
ปัจจัยสำคัญที่มีผลต่อความสำเร็จของรพ.สต.
โครงการพัฒนาโรงพยาบาลราชบุรี บริการฉับไว ไร้ความแออัด
นโยบายกระทรวงสาธารณสุข
เตรียมพร้อมกายใจ เพื่อวัยเกษียณ.
สถานการณ์ ผู้สูงอายุไทย ผศ.นันทยา อุดมพาณิชย์.
สาระสำคัญในแผนพัฒนาสาธารณสุข
มาตรฐานที่ 3 มาตรฐานด้านการ บริการวิชาการ คณะศิลปกรรมศาสตร์ มีจำนวนกิจกรรม / โครงการ บริการวิชาการและวิชาชีพ ในปีการศึกษา 2548 จำนวน 27 กิจกรรม ทั้งนี้
ความสำเร็จของนโยบายการวางแผนประชากรที่ทำให้อัตราเจริญพันธุ์ลดลง
ปัญหาความสัมพันธ์ ระหว่างโรงเรียนกับชุมชน ผู้สอน อ.ดร.อิศรัฏฐ์ รินไธสง
หลักการสร้างความสัมพันธ์ระหว่างโรงเรียนกับชุมชน
การดำเนินงานอาชีวเวชศาสตร์: แพทย์ที่ผ่านการอบรม
“ศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตและส่งเสริมอาชีพผู้สูงอายุ”
ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับ กองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง
ความคิดเห็นของข้าราชการเกี่ยวกับ สวัสดิการการรักษาพยาบาล พ.ศ. 2546
สำนักงานสถิติแห่งชาติ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
สำนักงานสถิติแห่งชาติ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
การเตรียมความพร้อม ก่อนเข้าสู่ตำแหน่ง ตาม พ. ร. บ
ปัญหาสุขภาพจิตและ ฆ่าตัวตายจังหวัดเชียงราย
ชุมชนคลองตาแป้น ศูนย์บริการสาธารณสุข 62 ตวงรัชฏ์ ศศะนาวิน ภักดี ฐานปัญญา
กลุ่มที่ 5 : บุคคลที่มีการเรียนรู้ผิดปกติ
มติชน มติชน Healthcare Healthcare “ การดูแลสุขภาพ ผู้สูงอายุ ” 17 กรกฎาคม 2552 ณ เวทีศูนย์ประชุม แห่งชาติสิริกิติ์ ณ เวทีศูนย์ประชุม แห่งชาติสิริกิติ์
นพ.วินัย ศรีสอาด สถาบันเวชศาสตร์ผู้สูงอายุ กรมการแพทย์
การประชุมเชิงปฏิบัติการ การพัฒนางานในเครือข่ายคลินิกผู้สูงอายุ โดย สถาบันเวชศาสตร์ผู้สูงอายุ กรมการแพทย์ วันที่ 31 พฤษภาคม – 1 มิถุนายน 2553 ณ.
คลินิกผู้สูงอายุ อดีต ปัจจุบัน อนาคต
คณะทำงานกลุ่มที่ 1 ลำปาง เชียงราย อุตรดิตย์ ลำพูน พะเยา
ความสำเร็จสูงสุดของชีวิตมนุษย์ นายแพทย์วิวัฒน์ วิริยกิจจา
ความสำเร็จสูงสุดของชีวิตมนุษย์ นายแพทย์วิวัฒน์ วิริยกิจจา
แนวทางการดำเนินงานและการสนับสนุนส่วนภูมิภาค ประจำปี 2550 แนวทางการดำเนินงานและการสนับสนุนส่วนภูมิภาค กรมการแพทย์
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบล
ระดับท้องถิ่น/พื้นที่
การดำเนินการ รพ.สต. เขตตรวจราชการ ที่ 12
๒๕ ธ.ค. ๒๕๕๑ ณ โรงแรมมิราเคิล แกรนด์ คอนเวนชั่น กรุงเทพฯ
นโยบายสร้างความเป็น เอกภาพ ลดความเหลื่อมล้ำของ ๓ กองทุน นายแพทย์สมชัย นิจพานิข รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข.
แพทย์แผนไทยและแพทย์ทางเลือก ระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า
คำรับรองการปฏิบัติ ราชการ กรมอนามัย ปี 2549 จำนวน 20 ตัวชี้วัด.
ความคาดหวังกับรพ.สต.มิติใหม่ของการพัฒนางานสาธารณสุข
คลินิกผู้สูงอายุต้นแบบ (Geriatric Clinic Model) โรงพยาบาลอุดรธานี
นโยบายโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
การจัดบริการสุขภาพ ผู้สูงอายุไทย
โดย นายแพทย์เกียรติภูมิ วงศ์รจิต รองอธิบดีกรมสุขภาพจิต
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
แนวทางการดำเนินงานผู้สูงอายุจังหวัดเชียงใหม่ ปี 2556
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ NATIONAL HEALTH SECURITY OFFICE การบริหารงบกองทุนฯ ปีงบประมาณ 2555 งบสนับสนุนส่งเสริมการจัดบริการ สำหรับผู้ป่วยจิตเวช.
สิทธิประโยชน์ที่รัฐจัดให้ .. ท่าน(ผู้สูงอายุ) ได้อะไร
นพ.นิทัศน์ รายยวา 3 ตุลาคม 2556
ข้อเสนอและทางเลือก คลินิกอาชีวเวชกรรมโรงพยาบาลกมลาไสย (กลุ่มครูและบุคลากรทางการศึกษา) ความร่วมมือระหว่าง สำนักงานส่งเสริมสวัสดิการและสวัสดิภาพครู และบุคลากรทางการศึกษาจังหวัดกาฬสินธุ์
กรอบการบริหารงบบริการ การแพทย์แผนไทย ปีงบประมาณ 2558
บริการพยาบาลด้วยใจ ให้เข้าถึงสิทธิ ไม่ผิดกฎหมาย
ผลการเบิกจ่ายงบลงทุนปีงบประมาณ 2551 ที่ได้รับการจัดสรรงบประมาณตั้งแต่ 10 ล้านบาทขึ้นไป งบจัดสรรผลการเบิกจ่าย ร้อยละ การเบิกจ่าย ลำดับที่ 1 กรมทางหลวงชนบท.
สรุปผลงานส่วนสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม ประจำปีงบประมาณ พ. ศ โครงการรณรงค์ฉีดวัคซีนป้องกันโรคพิษสุนัขบ้า ประจำปี 2555 ระยะเวลาดำเนินการ วันที่ 1.
นโยบายกรมสุขภาพจิต ปีงบประมาณ 2554
การจัดการด้านสุขภาพของ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น สู่เมืองไทยแข็งแรง รัฐบาลได้ประกาศให้ “ เมืองไทยแข็งแรง ” โดยกำหนด เป้าหมายให้คนไทยแข็งแรงถ้วน หน้า ในปี
กลุ่มที่1 โรคติดต่อนำโดยแมลง
บทเรียนกับอนาคตที่ท้าทาย
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ NATIONAL HEALTH SECURITY OFFICE การบริหารงบกองทุนฯ ปีงบประมาณ 2555 เสนอในการประชุมชี้แจงจังหวัด ระหว่างวันที่ 5-6 ตุลาคม.
โครงการนำร่องการลดโอกาสเสี่ยงต่อการเกิด โรคหัวใจและหลอดเลือด
มโนทัศน์เกี่ยวกับการพยาบาลผู้สูงอายุ
โครงการลดความแออัดของผู้รับบริการผู้ป่วยนอก โรงพยาบาลชลบุรี
สิทธิสวัสดิการช่วยเหลือในการรักษาพยาบาล
“สังคมคุณภาพเพื่อผู้สูงอายุ”
แนวทางการดำเนินงานสาธารณสุขที่สำคัญ กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ผู้สูงอายุไทยในทศวรรษหน้า นายแพทย์วิวัฒน์ วิริยกิจจา รองอธิบดีกรมการแพทย์

ครอบครัวที่อบอุ่น ครอบครัวมีปัญหา

ผู้สูงอายุที่ถูกทอดทิ้ง

สถานการณ์ผู้สูงอายุ สังคมผู้สูงอายุ  Aging Society : สังคมนั้นมีผู้สูงอายุตั้งแต่ 65 ปีขึ้นไป 7%  Aged Society : สังคมนั้นมี ผู้สูงอายุตั้งแต่ 65 ปีขึ้นไป 14% ประเทศไทยเป็น Aging Society ปี พ.ศ. 2545 คือผู้สูงอายุ 60 ปีขึ้นไป 8 - 10% ปี พ.ศ. 2548 10.4% ปี พ.ศ. 2550 10. 8% ปี พ.ศ. 2558 คาดการณ์ 13.4%

ประมาณการค่าใช้จ่ายในการรักษาสุขภาพผู้สูงอายุ พ.ศ.2540 -2554 แหล่งที่มาของรายได้ พ.ศ. ส่วนที่เพิ่มขึ้น ( เท่า ) 2540 2545 2550 2554 ค่าใช้จ่ายผ่านกระทรวงสาธารณสุข 2,325.2 4,446.0 6,432.4 8,307 3.6 ค่าใช้จ่ายเพื่อข้าราชการบำนาญ ( ผ่านทางสำนักงบประมาณ) 1,762.1 4,232.0 9,352.2 12,278.9 7.0 ผู้สูงอายุ (หรือญาติ) ที่ไม่ใช่ข้าราชการบำนาญ 10,253.6 11,852.4 13,279.6 14,963.1 1.5 รวมทั้งสิ้น 14,340.9 20,530.4 29,064.2 35,549.7 2.5 หมายเหตุ : ประมาณการทำเมื่อก่อนที่จะมีโครงการหลักประกันถ้วนหน้า ( โครงการ 30 บาท)

ปัญหา = (สิ่งที่น่าจะเป็น – สิ่งที่เป็นอยู่ ) อาทร ปัญหา = (สิ่งที่น่าจะเป็น – สิ่งที่เป็นอยู่ ) อาทร

สิ่งที่น่าจะเป็น ครอบครัวควรจะดูแลผู้สูงอายุอยู่ในบ้าน กลางวัน ควรมีสถานที่สังสรรค์อยู่ร่วมกัน มีระบบบริการ มีสถานที่พักฟื้นในชุมชน สถาบันเวชศาสตร์ผู้สูงอายุเป็นต้นแบบของการรักษาผู้สูงอายุของประเทศ

สิ่งที่น่าจะเป็น ครอบครัวควรจะดูแลผู้สูงอายุอยู่ในบ้าน โดยชุมชนมีส่วนร่วม

สิ่งที่น่าจะเป็น กลางวัน ควรมีสถานที่สังสรรค์อยู่ร่วมกันมีระบบบริการ

สิ่งที่น่าจะเป็น มีสถานที่พักฟื้นที่อยู่ในชุมชนโดยชุมชน(องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น)

สิ่งที่น่าจะเป็น ผู้สูงอายุที่เจ็บป่วยควรได้รับการดูแลอย่างถูกต้องตามหลักการของเวชศาสตร์ผู้สูงอายุ แตกต่างจากผู้ป่วยกลุ่มอายุอื่น การรักษาผู้ป่วยสูงอายุ ต้องเป็นลักษณะสหสาขาวิชาชีพ เช่น แพทย์ พยาบาล นักกายภาพบำบัด เภสัชกร เป็นต้น

สิ่งที่น่าจะเป็น มีระบบส่งต่อและเคลื่อนย้ายผู้ป่วย จากชุมชนมายังสถานบริการที่เหมาะสม เพื่อความสะดวกของการเข้าถึงบริการ สถาบันเวชศาสตร์ผู้สูงอายุ เป็นหน่วยงานของการสร้างมาตรฐานการรักษาพยาบาลของผู้สูงอายุ ถ่ายทอดองค์ความรู้ด้านการรักษาพยาบาลของผู้สูงอายุ ตลอดจนเป็นแหล่งข้อมูลด้านสุขภาพของผู้อายุของประเทศ

สิ่งที่เป็นอยู่ ณ ปัจจุบัน Silver Tsunami :ระหว่าง พ.ศ.2547 - 2552 รุ่นเกิดล้านของไทย :ระหว่าง พ.ศ.2506 - 2526 Baby Boomer : ระหว่างพ.ศ.2489 - 2507 Generation X (reactive generation ) : ระหว่างพ.ศ.2503 - 2524 Generation Y (civic generation ) :ระหว่าง พ.ศ.2525 - 2544

สิ่งที่เห็นว่า น่าจะต้องเริ่มเดี๋ยวนี้ ประกาศผู้สูงอายุ เป็นวาระแห่งชาติ จัดตั้งกองทุนผู้สูงอายุ เพื่อพัฒนาระบบทั้งระบบ ทุกกระทรวง กรม กอง น่าจะทำอะไรบ้างเพื่อเตรียมการเข้าสู่ระบบผู้สูงอายุ ลงมือทำโดย มีผู้รับผิดชอบเป็นบุคคล

สวัสดี