บทที่ 3 วิธีดำเนินการวิจัย ศึกษาข้อมูลที่เกี่ยวข้อง

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
งานนำเสนองานวิจัย. เรื่อง พฤติกรรมการใช้จ่าย. ของประชาชนในเขตชุมชน
Advertisements

ส่วนประกอบตอนต้น ปก ชื่อเรื่องวิจัย ชื่อผู้วิจัย โรงเรียน ชื่อโครงการ เดือน ปี ที่วิจัยเสร็จ คำนำ ส่วนประกอบ ที่มาของรายงาน วัตถุประสงค์ของรายงาน วิจัย.
กระบวนการสร้างแบบทดสอบ
กลุ่มสาระการเรียนรู้ การงานอาชีพและเทคโนโลยี
ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 2
ง า น วิ จั ย ใ น ชั้ น เ รี ย น ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ ค ณิ ต ศ า ส ต ร์
เทคนิคการอ่านรายงานการวิจัย
โดย ดร.วรินทร์ สุวรรณวิสูตร อาจารย์ผู้ประสานงานวิชาโครงการ
พิมพ์ชื่อบริษัทหรือหน่วยงาน
รายงานการวิจัย.
Research Problem ปัญหาการวิจัย
การวิจัย RESEARCH.
การทดลองและการเขียนรายงานผลการทดลองทางวิทยาศาสตร์
ADDIE model หลักการออกแบบของ
หลักการออกแบบของ ADDIE model ADDIE model
หลักการพัฒนา หลักสูตร
OUTLINE หลักการและเหตุผล วัตถุประสงค์ของงานวิจัย ขอบเขตเนื้อหางานวิจัย
วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล
การพัฒนากิจกรรม การเรียนรู้ โดยโครงงาน
การเขียนรายงานการทดลอง
การวางแผนและการดำเนินงาน
การพัฒนาตัวชี้วัดสุขภาพผู้สูงอายุ: กรณีศึกษาจังหวัดลำพูน Development of Elderly Health Indicators in Thailand.
รองศาสตราจารย์ปภาวดี มนตรีวัต ผู้ช่วยศาสตราจารย์นราธิป ศรีราม
การเขียนโครงร่างปัญหาพิเศษ การเขียนโครงร่างปัญหาพิเศษ
การติดตาม และประเมินโครงการ.
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการวิจัย
บทบาทการบริหารงานสำนักงาน 1
การเขียนรายงานการใช้เอกสารประกอบการสอน
บทที่ 7 เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยและ การเก็บรวบรวมข้อมูล
การวิเคราะห์ข้อสอบ ดร.ปรัชญนันท์ นิลสุข
SYSTEM ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับระบบ
การเขียนรายงานการวิจัย
วิชาคอมพิวเตอร์สำหรับบัณฑิตศึกษา โดย นางสาวเพลินจิตร์ กันหาป้อง
การทำผลงานวิชาการ สงวนลิขสิทธิ์.....โดย ดร.สุรชาติ สังข์รุ่ง.
วิธีดำเนินการพัฒนาโครงงานคอมพิวเตอร์
สวัสดี ครับ เพื่อนพี่น้องผู้ทรงคุณวุฒิทุกท่าน.
การประเมินนวัตกรรม Dr.Kulthida Nugultham.
การวางเค้าโครงการวิจัยในชั้นเรียน
การออกแบบการสอน รูปแบบ ADDIE Model
การเขียนรายงานเพื่อนำเสนอโครงงานวิทยาศาสตร์
การสร้างเครื่องมือและรวบรวมข้อมูลเพื่อจัดทำผลงานทางวิชาการ
งานวิจัย เรื่อง การใช้ชุดฝึกเสริมทักษะคณิตศาสตร์
โรงเรียนกรุงเทพการบัญชีวิทยาลัย
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ
บุปผชาติ ทัฬหิกรณ์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนบนเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ด้วยการเรียนรู้ร่วมกันโดยใช้เทคนิคการใช้ปัญหาเป็นฐานร่วมกับ เทคนิคจิกซอว์ เรื่อง อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น.
ว่าที่เรือตรีไชยา วิเชียนล้ำ วิทยาลัยเทคโนโลยีระยองบริหารธุรกิจ
OUTLINE หลักการและเหตุผล วัตถุประสงค์ของงานวิจัย ขอบเขตเนื้อหางานวิจัย
นางสาวกุลวีณ์ สัตตรัตนามัย โรงเรียนกรุงเทพการบัญชีวิทยาลัย
วิจัยในชั้นเรียน โดย อาจารย์ ปรารถนา นามบุรี
ผลงานวิจัยเรื่อง “ การศึกษาผลสัมฤทธิ์การเรียนวิชาเครื่องส่งวิทยุและสายอากาศ เรื่อง วงจรเรโซแนนท์ โดยใช้ชุดฝึกเครื่องส่งวิทยุ AM. ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่
ลักษณะโครงการวิจัยที่ดี
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่ วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
การเขียนรายงานผลการวิจัย
นางสาววีรนุช เรือนสิงห์ วิทยาลัยเทคโนโลยีเมืองชลบริหารธุรกิจ
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาเศรษฐศาสตร์ผู้บริโภคของผู้เรียน ระดับประกาศนียบัตร วิทยาลัยเทคโนโลยีพระรามหก.
โรงเรียนระยองพาณิชยการ ผู้วิจัย นางประนอม ยางสง่า
ผู้วิจัย อาจารย์วราพร จันทร์แจ่มหล้า
ผู้วิจัย อาจารย์เรณู เอกลักษณ์ไพศาล
การออกแบบสื่อเพื่อการศึกษา ADDIE Model
ผู้วิจัย อาจารย์กุลรภัส ปองไป
ชื่อผลงานวิจัย : การพัฒนารูปแบบการเรียน การสอนผ่านเครือข่าย คอมพิวเตอร์เพื่อเพิ่มผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนของนักศึกษาระดับชั้น ปวส.2 แผนกวิชาคอมพิวเตอร์ วิทยาลัย.
โดย อาจารย์นันทิพร ม่วงแจ่ม
วิทยาลัยเทคโนโลยีชุมพรบริหารธุรกิจ อำเภอหลังสวน จังหวัดชุมพร
การทดลองใช้เอกสารประกอบการเรียน ในวิชาบัญชีเบื้องต้น 2
หลักการออกแบบของ ADDIE model มีขั้นตอนดังนี้. 1
รายงานผลการพัฒนาความรู้เกี่ยวกับระบบสารสนเทศสำหรับบุคลากร วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่ ผู้วิจัย อาจารย์จิตรสนา พรมสุทธิ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
เทคนิควิธีในการจัดการเรียนการสอน
วิชา เครื่องวัดไฟฟ้า รหัส
ศึกษาผลการประเมินการ ดำเนินงานระบบเรียนรู้ ของ วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตรดิตถ์ ปีการศึกษา 2552 – 2554 นางอรัญญา เอี่ยมภักดิ์ วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตรดิตถ์
ใบสำเนางานนำเสนอ:

บทที่ 3 วิธีดำเนินการวิจัย ศึกษาข้อมูลที่เกี่ยวข้อง ออกแบบและสร้างเครื่องทดสอบ สร้างเอกสารประกอบการทดสอบทดสอบ สร้างเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยทดสอบ วิเคราะห์ข้อมูลและสถิติที่ใช้

ออกแบบและสร้างเครื่องทดสอบ ศึกษาข้อมูล จากเนื้อหาวิชา จากสถานศึกษา จากบริษัท กำหนดเนื้อหาและวัตถุประสงค์ ออกแบเครื่องทดสอบ ปรับปรุงแก้ไข อาจารย์ที่ปรึกษา สร้างเครื่องทดสอบ ปรับปรุงแก้ไข ผู้เชี่ยวชาญ ทดลองใช้เก็บข้อมูล ได้เครื่องทดสอบการล้าตัวของวัสดุ

สร้างเอกสารประกอบการทดลอง ศึกษาวัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรม เนื้อหาเกี่ยวกับการล้าตัว รายละเอียดของชุดทดลอง ขั้นตอนการทดลอง ออกแบบเอกสารประกอบเครื่องทดสอบ อาจารย์ที่ปรึกษาตรวจสอบ สร้างเอกสารประกอบเครื่องทดสอบ ผู้เชี่ยวชายตรวจสอบเอกสาร ได้เอกสารประกอบเครื่องทดสอบพร้อมนำไปใช้

สร้างเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย 1. ศึกษาข้อมูลวิธีสร้างแบบประเมิน 2. กำหนดรูปแบบของคำถาม โดยศึกษาจากตำรา เอกสารและงานวิจัยอื่นๆ ที่คล้ายคลึงกัน 3. สร้างแบบประเมินผลสำหรับสอบถามความคิดเห็นของผู้เชี่ยวชาญ 4. ให้อาจารย์ที่ปรึกษาพิจารณาแบบประเมินผลที่สร้างขึ้น และปรับปรุงแก้ไข 5. ให้ผู้เชี่ยวชาญทำการประเมิน

การวิเคราะห์ผลประสิทธิภาพของเครื่องทดสอบ วัสดุที่ใช้ทำการทดสอบ เหล็ก st 37 เป็นวัสดุทดสอบ จำนวน 16 ชิ้น โดยขนาดของชิ้นทดสอบเส้นผ่านศูนย์กลาง( d ) 8 มิลลิเมตร มีค่ารัศมี 0.5 มิลลิเมตร ตามมาตรฐานของเครื่อง WP140 Fatigue Testing และคำนวณหาค่าความเค้นอัดสลับได้มีความผิดพลาด ไม่เกิน 10 %

ตาราง ค่า S และค่า N ของวัสดุเหล็ก ที่ได้จากเครื่องมาตรฐาน แรง F ( N ) ความเค้นสดับ จำนวนรอบจนขาด N 200 400 10100 150 300 84984 125 250 399232 100 1985697 ตารางที่ 4-2 ค่า S และค่า N ของวัสดุเหล็ก ที่ได้จากเครื่องที่สร้างขึ้น แรง F ( N ) ความเค้นสดับ จำนวนรอบจนขาด N 200 400 10605 150 300 88893 125 250 416119 100 2045267

แรง F ( N ) จำนวนรอบจนขาด N ตารางที่ 4-3 ค่า S และค่า N ของวัสดุเหล็ก ( Test bar 1) จากตารางคู่มือ แรง F ( N ) ความเค้นสดับ จำนวนรอบจนขาด N 200 400 14030 Error ความเค้นดัดสลับ ตารางที่ 4-4 เปรียบเทียบค่า S และค่า N จากเครื่องมาตรฐานและเครื่องสร้างใหม่ ความเค้นสดับ N ( Cycle) เครื่องมาตรฐาน เครื่องที่สร้างขึ้น 10 % 400 10100 10605 + 5 % 300 84984 88893 + 4.59 % 250 399232 416119 + 4.22 % 200 1985697 2045267 + 2.99 %

สรุปผล - เครื่องทดสอบความล้าของวัสดุ สามารถหาค่าความเค้นสลับของเหล็ก st 37 โดยมีความผิดพลาดไม่เกิน 10 % เมื่อเทียบกับเครื่องมาตรฐาน - ผลการประเมินความคิดเห็นของผู้เชี่ยวชาญ จำนวน 9 ท่าน ทั้ง 3 ด้าน คือ ด้านการออกแบบ , ด้านการทดสอบ , ด้านคุณภาพเครื่องทดสอบ ต้องมีค่า IOC มากกว่า 0.5 ด้าน - ดังนั้นจึงสรุปได้ว่า เครื่องทดสอบความล้าของวัสดุที่ผู้วิจัยสร้างขึ้น มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์กำหนด ไว้ในสมมติฐาน

อภิปรายผล จากการทดลองใช้เครื่องทดสอบความล้าของวัสดุที่สร้างขึ้น สามารถคำนวณหาค่าความเค้นดัดสลับมีความผิดพลาดไม่เกิน 10 % เมื่อเปรียบเทียบกับเครื่องมาตรฐาน เนื่องจากโครงสร้างเล็กกะทัดรัด และแข็งแรง ไม่มีเสียงดัง การเคลื่อนย้ายสะดวก อุปกรณ์หา ซื้อได้ง่ายในท้องตลาด

ข้อเสนอแนะ ในการทดลองหาประสิทธิภาพ ชิ้นทดสอบ ขนาด ผิว จะต้องไปตามมาตรฐาน ควรมีการถ่ายทำเป็นสื่อ เกี่ยวกับการเรียนการสอน และการทดสอบไว้ เพื่อเผยแพร่ ให้ผู้เรียนได้เรียนรู้เพิ่มเติม