ลักษณะของรายงาน 1. คำนำ 2. สารบัญ 3. เนื้อหาที่รายงาน 3.1 สาเหตุและความสำคัญของปัญหา 3.2 วัตถุประสงค์ของการศึกษา 3.3 วิธีการและกระบวนการศึกษา 3.4 กรอบ และแนวคิดทางทฤษฎี 3.5 รูปแบบจำลองที่ใช้ในการศึกษา 3.6 ข้อความหรือผลการศึกษา 3.7 บทสรุปที่ได้จากการศึกษา 3.8 ข้อวิจารณ์ และข้อเสนอแนะ 4. บรรณานุกรม และแหล่งค้นคว้า 5. ภาคผนวก 5.1 แบบสอบถาม 5.2 ผลการคำนวณ 5.3 ฯลฯ
การอบรมเสริม ครั้งที่ 1 หน่วยที่ 1 โครงสร้างเศรษฐกิจการเกษตร การผลิตและ จำหน่ายสินค้าเกษตร หน่วยที่ 2 ทฤษฎีอุปสงค์และการประยุกต์ หน่วยที่ 3 อุปทานสินค้าเกษตรและการประยุกต์ หน่วยที่ 4 ทฤษฎีการผลิตและการประยุกต์ หน่วยที่ 5 ทฤษฎีต้นทุนการผลิตและการประยุกต์ หน่วยที่ 6 ราคาสินค้าเกษตร หน่วยที่ 7 เทคโนโลยีการผลิต
หน่วยที่ 1 โครงสร้างเศรษฐกิจการเกษตร การผลิตและการจำหน่าย
ความหมายและขอบเขต วิชาเศรษฐศาสตร์การเกษตร เป็นวิชาที่ศึกษาถึงกิจกรรมทางเศรษฐกิจที่เกี่ยวข้องกับการใช้ปัจจัยการผลิตเพื่อนำไปผลิตและจำแนกแจกจ่ายผลิตผลการเกษตร รวมถึงการบริโภค ขอบเขตของวิชาเศรษฐศาสตร์การเกษตรจะครอบคลุมไปถึงเศรษฐศาสตร์จุลภาคและมหภาค
ความสำคัญของภาคเกษตร ต่อระบบเศรษฐกิจไทย ความสำคัญของภาคเกษตร ต่อระบบเศรษฐกิจไทย ให้อาหารและพืชเส้นใย เป็นแหล่งนำมาซึ่งเงินตราต่างประเทศ เป็นแหล่งอุปทานของอาหารและวัตถุดิบ เป็นแหล่งแรงงานเพื่อพัฒนาภาคการผลิตอื่น ๆ เป็นแหล่งสะสมเงินทุน เป็นตลาดสินค้าของสินค้าจากภาคอื่นๆ
โครงสร้างการผลิตสินค้าเกษตร โครงสร้างการผลิตสินค้าเกษตร พืช 61.4 % ปศุสัตว์ 10.8 % ประมง 1.3 % การบริการทางการเกษตร 16.2 % สินค้าเกษตรอย่างง่าย
สภาพปัญหาการผลิตสินค้าเกษตรของไทย สภาพปัญหาการผลิตสินค้าเกษตรของไทย การบุกรุกที่ดินและใช้ที่ดินผิดประเภท ความเสื่อมโทรมของทรัพยากรธรรมชาติ ระบบการชลประทานของไทยมีน้อยและกระจายตัว ไม่ทั่วถึง เกษตรกรใช้เทคโนโลยีการผลิตที่ทันสมัยน้อย ขาดแคลนเงินทุนและแหล่งสินเชื่อ เกษตรกรขาดความสามารถในทางประกอบการ
สภาพปัญหาการตลาดสินค้าเกษตรของไทย การผลิตสินค้าเกษตรมีความไม่แน่นอนและสม่ำเสมอ ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ในสินค้าเกษตรต่ำ เกษตรกรส่วนใหญ่เป็นรายย่อยและขาดการรวมตัว ปัญหาการขนส่ง ปัญหาการเก็บรักษาสินค้า ปัญหาข่าวสารการตลาด ปัญหาความเชื่อมโยงกับตลาดสินค้าเกษตรของโลก
แนวโน้มปัจจัยต่างๆ ทางการเกษตรในอนาคต แนวโน้มปัจจัยต่างๆ ทางการเกษตรในอนาคต ที่ดินมีจำนวนจำกัด ขนาดของฟาร์มลดลง ป่าต้นน้ำถูกทำลาย ปัญหาแหล่งน้ำขาดแคลน แรงงานในภาคการเกษตร ค่าจ้างสูงขึ้น มีการใช้เทคโนโลยีการเกษตรมากขึ้น ผลิตภาพการผลิตต่ำ เกษตรกรขาดแคลนเงินทุน เกษตรกรขาดอำนาจการต่อรอง
นโยบายของรัฐทางด้านการเกษตรในอนาคต นโยบายของรัฐทางด้านการเกษตรในอนาคต เน้นความสำคัญของเกษตรกรให้ริเริ่มตัดสินใจผลิตเอง เร่งรัดการกระจายกรรมสิทธิ์ในที่ดินทำกิน พัฒนาและการใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสม ปรับปรุงระบบการชลประทาน พัฒนาการให้สินเชื่อเกษตร พัฒนาระบบการตลาด ระบบข่าวสาร พัฒนาตัวเกษตรกร พัฒนาคุณภาพชีวิตในชนบท