การบริบาลเบื้องต้นในหน่วยบริการปฐมภูมิ PUBH 224_Basic Medical Care in Primary Care Unit Benjawan Nunthachai
Benjawan Nunthachai
Birth The Health Continuum Throughout Life Span Acute DEATH Illness Optimum Health Acute Birth Chronic Illness DEATH Illness Poor Health
Health as Actualization and Stability สุขภาวะ คือ ความรู้สึกผาสุก สามารถทำงาน/ บทบาทที่ได้เต็มศักยภาพ และสามารถยืดหยุ่น/ ปรับตัวได้ ท่ามกลางสถานการณ์ต่างๆ ที่รายรอบ สุขภาวะ คือ ภาวะที่ไม่หยุดนิ่งของวงจรชีวิตของบุคคล ซึ่งต้องใช้การปรับตัวต่อภาวะเครียดในสิ่งแวดล้อม โดยการใช้แหล่งประโยชน์ที่มีอยู่ เพื่อให้บรรลุศักยภาพสูงสุดในการดำรงชีวิต สุขภาวะ = ภาวะที่ทำหน้าที่ได้ในวงจรชีวิต ทุกขภาวะ = การรบกวนในวงจรชีวิต
The Components of Health สุขภาวะทางกาย Physical Health สุขภาวะทางใจ Psychological Health สุขภาวะทางสังคม Social Health สุขภาวะทางปัญญา Intellectual Health สุขภาวะทางจิตวิญญาณ Spiritual Health สุขภาวะทางด้านสิ่งแวดล้อม Environmental Health
องค์ประกอบ 4 ส่วนของ สุขภาพ 1. สุขภาพกาย :สภาพที่ดีของร่างกาย คือ อวัยวะต่างๆอยู่ในสภาพที่ดีมีความแข็งแรงสมบูรณ์ ทำงานได้ตามปกติ และมีความสัมพันธ์กับทุกส่วนเป็นอย่างดี และก่อให้เกิดประสิทธิภาพที่ดีในการทำงาน 2. สุขภาพจิต : สภาพของจิตใจที่สามารถควบคุมอารมณ์ได้ มีจิตใจเบิกบานแจ่มใส ไม่เกิดความคับข้องใจหรือขัดแย้งในจิตใจ สามารถปรับตัวเข้ากับสังคมและสิ่งแวดล้อมได้อย่างมีความสุข
องค์ประกอบ 4 ส่วนของ สุขภาพ 3. สุขภาพสังคม : สภาวะที่ดีของปัญญาที่มีความรู้ทั่ว รู้เท่าทันและความเข้าใจอย่างแยกได้ในเหตุผลแห่งความดีความชั่ว ความมีประโยชน์และความมีโทษ ซึ่งนำไปสู่ความมีจิตอันดีงามและเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ 4. สุขภาพศีลธรรม: บุคคลที่มีสภาวะทางกายและจิตใจที่สุขสมบูรณ์ สามารถปฏิสัมพันธ์และปรับตัวให้อยู่ในสังคมได้เป็นอย่างดีและมีความสุข
การบริการตติยภูมิ และศูนย์การแพทย์เฉพาะทาง (Tertiary Care and Excellent Center) การบริการที่ใช้เทคโนโลยีทางการแพทย์ขั้นสูง มีความสลับซับซ้อนมาก มีบุคลากรทางการแพทย์ในสาขาเฉพาะทาง สังกัดกระทรวงสาธารณสุขที่เป็นโรงพยาบาลศูนย์ สถาบันเฉพาะทางต่างๆ สังกัดมหาวิทยาลัย เช่น โรงพยาบาลในโรงเรียนแพทย์
การบริการทุติยภูมิ (Secondary Care) บริการที่ใช้เทคโนโลยีทางการแพทย์ในระดับที่สูงขึ้น เน้นการบริการรักษาพยาบาลโรคที่ยาก ซับซ้อนมากขึ้น ได้แก่ โรงพยาบาลชุมชนในระดับอำเภอ โรงพยาบาลทั่วไปในระดับจังหวัด โรงพยาบาลในสังกัดกระทรวงกลาโหม
การบริการปฐมภูมิ (Primary Care) เป็นบริการที่อยู่ใกล้ชิดประชาชนและชุมชนมากที่สุด เน้นที่ความครอบคลุม มีการบริการผสมผสาน ทั้งในด้านการรักษาพยาบาล การส่งเสริมสุขภาพ การป้องกันควบคุมโรค ฟื้นฟูสภาพ บริการปฐมภูมิในเขตพื้นที่ชนบท ได้แก่ สถานีอนามัย ศูนย์สุขภาพชุมชน สำหรับในเขตเมืองอาจเป็น ศูนย์บริการสาธารณสุขของกรุงเทพมหานครหรือศูนย์แพทย์ชุมชน
- ด้านการรักษาพยาบาล - ด้านการส่งเสริมสุขภาพ - ด้านการฟื้นฟูสภาพพื้นฐานครอบคลุมการฟื้นฟูสภาพทั้งทางด้านร่างกาย และจิตใจ ตลอดจนการกระตุ้นพัฒนาการเด็ก - ด้านการป้องกันและควบคุม โรคในระดับบุคคล และครอบครัว ได้แก่ การให้วัคซีนเพื่อป้องกันโรค การค้นหาผู้ป่วย เฝ้าระวัง - ด้านการสนับสนุนการพึ่งตนเองของประชาชน องค์กรประชาชนและชุมชน ด้านสุขภาพ