Knowledge Management การจัดการความรู้สู่การพัฒนาการสอน Wuttisak Pochanukul M.Ed.
Knowledge Management : KM กระบวนการรวบรวมจัดการ ความรู้ความชำนาญ ไม่ว่าความรู้นั้นจะอยู่ใน คอมพิวเตอร์ ในกระดาษ หรือ ตัวบุคคล โดยมีจุดมุ่งหมายเพื่อจัดการให้บุคลากร ได้รับความรู้และแลกเปลี่ยนความรู้ ทำให้เกิด การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมจากเดิม โดยทำให้เกิดประสบการณ์และความชำนาญเพิ่มขึ้น (Stair : 2001)
แนวคิดการจัดการความรู้
ขั้นตอนการจัดการความรู้
คุณค่าของ KM ที่มีต่อหน่วยงาน ทำอย่างไร จะใช้ความรู้และประสบการณ์ที่มีอยู่ในตัวคนให้เกิดประโยชน์สูงสุดต่อหน่วยงาน คนในหน่วยงาน ทำงานแบบต่อยอดความรู้ โดยไม่ต้องเริ่มต้น จากศูนย์ คนในหน่วยงาน ไม่ต้องทำงานแบบลองผิดลองถูก มีวิธีปฏิบัติ ที่เป็นเลิศ (Best Practices) ในการทำงาน ทำให้ประหยัดแรงงาน เวลา วัสดุอุปกรณ์ และได้ผลผลิตมาก ทั้งปริมาณและคุณภาพ หน่วยงานได้ลงทุนพัฒนาบุคลากรให้มีความรู้ ความเชี่ยวชาญ เมื่อคนออกจากหน่วยงานไปแล้ว ความรู้และประสบการณ์ของบุคคลนั้น ยังคงอยู่กับหน่วยงานและสามารถนำมาใช้ประโยชน์ได้
อุปสรรคของการแลกเปลี่ยนแบ่งปันความรู้ ตัวบุคคล ส่วนรวม/โครงสร้าง ค่านิยม/วัฒนธรรมองค์กร
บล็อก (Blog) คืออะไร Blog คือ "Web log" หรือเรียกสั้นๆ ว่า "blog" ชื่อดังกล่าว เริ่มใช้เมื่อเดือนธันวาคม ปี 1997 โดยผู้ที่คิดชื่อนี้คือ Jorn Barger "weblog" (เว็บ Blog) หมายถึงเว็บไซต์ส่วนตัว ที่ผู้สร้างหรือ ที่เรียกว่า blogger จัดทำขึ้นเพื่อเป็นที่บอกเล่าเรื่องราว สิ่งต่างๆ ที่เกิดขึ้นในชีวิตประจำวัน รวมทั้งแลกเปลี่ยนความคิดเห็น เสนอบทความใหม่ๆ วิจารณ์ข่าวสารบ้านเมือง หรืออื่นๆ ที่ผู้ใช้ เห็นว่าน่าสนใจ พร้อมกันนั้น ยังเปิดให้ผู้เยี่ยมชมได้สามารถแสดงความคิดเห็นต่อ topic ต่างๆ ที่ได้ตั้งขึ้นอีกด้วย
บล็อกช่วยจัดการความรู้ได้อย่างไร? สร้างความรู้ เผยแพร่ความรู้ แลกเปลี่ยนความรู้ ค้นหาความรู้ ผู้ชำนาญการ และชุมชนปฏิบัติ รวบรวมและแยกแยะประเภทของความรู้ สกัดแก่นความรู้ และสร้างความสัมพันธ์ของความรู้ สร้างลำดับความน่าเชื่อถือและความถูกต้องของความรู้ โดยผู้นำเอาความรู้นั้นไปใช้ แสดงรายละเอียดของแก่นความรู้อย่างเป็นระบบ
wuttisak@pochanukul.com http://etc.pn.psu.ac.th วุทธิศักดิ์ โภชนุกูล ภาควิชาเทคโนโลยีการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี wuttisak@pochanukul.com http://etc.pn.psu.ac.th