โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Homeward& Rehabilitation system
Advertisements

สกาวรัตน์ พวงลัดดา สำนักงานเลขานุการคณะกรรมการสุขภาพจิตแห่งชาติ
ปัจจัยสำคัญที่มีผลต่อความสำเร็จของรพ.สต.
กายภาพบำบัด ใน โรงพยาบาลสร้างเสริมสุขภาพตำบล
สมรรถนะที่จำเป็นสำหรับผู้รับผิดชอบ การจัดการรายบุคคลในโรงพยาบาล (Case Manager และ Case Management Unit)
สถานีอนามัยสมอพลือ อำเภอบ้านลาด จังหวัดเพชรบุรี.
โรงเรียน อสม.ตำบลหนองไม้แก่น
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ภายในปี 2554 (ระยะ 4 ปี) เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2552 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) ประชาชน.
ผังจุดหมายปลายทางการพัฒนางานสร้างเสริมสุขภาพป้องกันโรค และ ภัยสุขภาพ ของจังหวัดในพื้นที่ สปสช.เขต 4 จังหวัดสระบุรี ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี)
ภ ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดต่อทั่วไป ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
การพัฒนาหลังจากมีการกำหนดค่ากลางของจังหวัด
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดเชื้อเฉียบพลันระบบหายใจในเด็ก ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน.
สำนักโรคติดต่ออุบัติใหม่
นโยบาย/แนวทางการดำเนินงาน และกลุ่มหญิงตั้งครรภ์
แนวนโยบายโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
นพ.ก้องภพ สีละพัฒน์ ผู้นิเทศงานปฐมภูมิ
การพัฒนา หน่วยบริการปฐมภูมิ
แนวทางการพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิและโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล เขต 5
ระบบHomeward& Rehabilation center
1. 1. กลุ่มองค์กร ปกครองส่วน ท้องถิ่น 2. เจ้าหน้าที่ รพ. สต และ เจ้าที่ในรพ. 3. ครู
คลินิกผู้สูงอายุ อดีต ปัจจุบัน อนาคต
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบล
รพสต. ความปลอดภัยผลิตภัณฑ์ พฤติกรรม การโฆษณา การบริโภค หลอกลวง
ข้อเสนอการพัฒนา รพ.สต. เขตตรวจราชการที่ 3
ระดับท้องถิ่น/พื้นที่
เขต 15 เขต 15: เชียงใหม่ ลำพูน ลำปาง แม่ฮ่องสอน.
การดำเนินการ รพ.สต. เขตตรวจราชการ ที่ 12
สรุปการประชุม เขต 10.
ภารกิจ อสม.งานประจำ/งานนโยบาย
น.พ. ศิริวัฒน์ ทิยพ์ธราดล
นโยบาย ปฐมภูมิ ลดแออัด พัฒนาคุณภาพบริการ
สำนักประสานการพัฒนาโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
นพ.สมชาย เชื้อเพชรโสภณ ผู้ตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข เขต 13
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
พัฒนาคุณภาพเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอและหน่วยบริการ ปฐมภูมิ
การดำเนินงานหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพแบบบูรณาการ สู่
การขับเคลื่อนการดำเนินงานสุขภาพจิตชุมชน
ร่วมด้วย ช่วยกัน ประชาชนคือ เป้าหมาย ร่วมด้วย ช่วยกัน ประชาชนคือ เป้าหมาย นพ. นิทัศน์ ราย ยวา ผู้ตรวจราชการ กระทรวงสาธารณสุข.
เส้นทางการพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
ความคาดหวังกับรพ.สต.มิติใหม่ของการพัฒนางานสาธารณสุข
กลุ่มงานส่งเสริมสุขภาพ สสจ.อุดรธานี
สรุปบทเรียนโครงการเอดส์ ด้าน CARE
มาตรฐานโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ
พี่เลี้ยงการพัฒนา หน่วยบริการปฐมภูมิ
ย.๔ พัฒนาระบบบริการสุขภาพวัยรุ่นในสถานบริการ
แนวทางการดำเนินงาน กรมอนามัย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2554
สำนักงานเกษตรจังหวัดอ่างทอง
แนวทางการปฏิบัติภารกิจ ของสถานีอนามัย
การจัดบริการสุขภาพ ผู้สูงอายุไทย
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
แนวทางการดำเนินงานผู้สูงอายุจังหวัดเชียงใหม่ ปี 2556
ทีม นำ “ การนำที่มั่นคง และยั่งยืน ”. “ บางครั้ง การยอมถอยซักก้าว เราจะเห็นทะเลที่ใหญ่ และท้องฟ้าที่สดใสกว่าเดิม ”
การดำเนินงานระบบสุขภาพอำเภอ (DHS) ตามนโยบาย กระทรวงสาธารณสุข
มีการอบรมป้องกันพฤติกรรมเสี่ยงในวัยรุ่น
บทบาท อสม.เชิงรุก ๑. เป็นผู้นำทางความคิดและผู้นำทางด้านสุขภาพในระดับชุมชน ในการลดโรค ๕ โรคสำคัญที่เป็นสาเหตุการตายลำดับต้นๆของประชาชน คือ เบาหวาน ความดันโลหิตสูง.
นิยาม ศูนย์ให้คำปรึกษาคุณภาพ (Psychosocial Clinic) หน่วยบริการระดับโรงพยาบาลชุมชนที่มีการจัดบริการดูแล ช่วยเหลือทางสังคมจิตใจทุกกลุ่มวัย โดยมีองค์ประกอบ.
การปฏิบัติตามนโยบาย ปลัดกระทรวงสาธารณสุข
การพัฒนางานสุขภาพจิต วัยทำงาน - สูงอายุ
นโยบายกรมสุขภาพจิต ปีงบประมาณ 2554
ทีมหมอประจำครอบครัว (Family care team) ดูแลถ้วนทั่วทุกกลุ่มวัย
เป็นผู้นำด้านวิชาการ และเทคโนโลยีการ ป้องกันและควบคุมโรค ระดับจังหวัดและเขต.
ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554 ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554
ผังจุดหมายปลายทางการจัดการสุขภาพ จังหวัดสุรินทร์ ภายในปี 2555
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ NATIONAL HEALTH SECURITY OFFICE การบริหารงบกองทุนฯ ปีงบประมาณ 2555 เสนอในการประชุมชี้แจงจังหวัด ระหว่างวันที่ 5-6 ตุลาคม.
ประชาชน “อุ่นใจ” มีญาติทั่วไทย เป็นทีมหมอครอบครัว
“สังคมคุณภาพเพื่อผู้สูงอายุ”
ยุทธศาสตร์การพัฒนารพ. สต. แบบบูรณาการจังหวัดแพร่ ประจำปีพ. ศ
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
ใบสำเนางานนำเสนอ:

โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล โดย สำนักประสานการพัฒนาโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล (สป.รพสต.)

สัญลักษณ์ของ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล สัญลักษณ์เป็นรูปหัวใจ 4 ดวง ร้อยรัดเข้าด้วยกัน หัวใจ 4 ดวงมี ตราสัญลักษณ์ของกระทรวงสาธารณสุขอยู่ตรงกลาง หัวใจ 4 ดวงถือเป็นกลไกหลักของการพัฒนาสุขภาวะของประชาชนในตำบล ซึ่งต่อไปนี้จะต้องเดินหน้าด้วย 4 หลักสำคัญ

หัวใจดวงที่ 1 โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล(คกก.) หัวใจดวงที่ 2 ผู้ที่ต้องเข้ามาช่วยทำหน้าที่ในหมู่บ้าน ตำบล และชุมชน คือ อสม. หัวใจดวงที่ 3 แผนสุขภาพตำบลที่ขณะนี้กำลังร่วมกับ อสม.ทุกตำบล หัวใจดวงที่ 4 กองทุนสุขภาพตำบล

กรอบแนวคิดการทำงาน 4 ก คกก.รพสต. กองทุนตำบล อสม./แกนนำ แผนสุขภาพตำบล

องค์ประกอบหลักของรพ.สต. ประกอบด้วย 4 ข้อ องค์ประกอบหลักของรพ.สต. ประกอบด้วย 4 ข้อ 1. มีการปรับภาพลักษณ์ (Logo / ป้ายสัญญลักษณ์) 2. มีบุคลากรพร้อม (เดี่ยว 4 / เครือข่าย 7) 3. มีระบบเชื่อมต่อกับ รพ.แม่ข่าย (โทรศัพท์ มือถือ internet ฯลฯ) 4. มีการตั้งคณะกรรมการพัฒนา รพ.สต. (เป็นลายลักษณ์อักษร) โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล (ชื่อสถานีอนามัย)

ส่งเสริมสุขภาพแนวใหม่ บริหารจัดการแบบมีส่วนร่วม ปชช.มีสุขภาพที่ดี ปชช.พึ่งตนเองทางสุขภาพได้ รพ.สต. ส่งเสริมสุขภาพแนวใหม่ เพิ่มคุณภาพบริการ บริหารจัดการแบบมีส่วนร่วม

กรอบแนวคิด รพ.สต. สสอ. ชุมชน อปท. รพ. รพ.สต. เชื่อมโยงบริการ เชิงรุก CUP สสจ. เขต รพ.สต. คกก.สุขภาพตำบล สสอ. ชุมชน อปท. รพ. จัดทำแผนบูรณาการสุขภาพตำบล ร่วมคิด-ร่วมลงทุน-ร่วมสนับสนุน-ร่วมติดตาม ผู้ให้บริการ ผู้จัดการ /เสริมพลัง เชิงรุก เชื่อมโยงบริการ ครอบคลุมกลุ่ม 5เป้าหมาย ตั้งแต่ในครรภ์มารดา-ถึงเชิงตระกอน ตามความจำเป็นเร่งด่วนปัญหาสุขภาพในพื้นที่และภาพรวม กรอบแนวคิด รพ.สต.

คุณลักษณะบริการของรพสต.ที่ดี การเข้าถึงบริการ(Accessibility) สะดวก ง่าย ใกล้แหล่งชุมชน ไม่มีอุปสรรคต่างๆ ด้านกายภาพ ด้านวัฒนธรรม/ความเชื่อ ด้านการเงิน การดูแลอย่างต่อเนื่อง (Continuity of Care) สนับสนุนกิจกรรมดูแลระยะยาวต่อเนื่อง การมีทะเบียนคนไข้หรือกลุ่มเป้าหมาย และมีทีมสุขภาพที่ดูแลตลอดการรักษา

บริการแบบผสมผสาน(Integrated Care ) การให้การดูแลที่ครอบคลุมหลากหลายมิติ -การดูแลในมิติการรักษาพยาบาล การส่งเสริมสุขภาพ การป้องกันควบคุมโรค การฟื้นฟูสภาพ -การดูแลที่ครอบคลุมทั้งกับผู้สูงอายุ ผู้ดูแล และครอบครัว ชุมชน -การดูแลที่ครอบคลุมลักษณะบริการ home care,day care, chronic care, end of life care

การประสานการดูแล(Co-ordination of Care) ร่วมกับหน่วยงาน บริการสุขภาพทุกระดับเพื่อสนับสนุนการดูแล ได้แก่ คู่มือ/แนวทางการดูแล ระบบส่งต่อ ให้คำปรึกษาแก่เจ้าหน้าที่ การเชื่อมระบบข้อมูลสุขภาพระหว่างหน่วยบริการ ประสานความช่วยเหลือกับ ชุมชน วัด ท้องถิ่น หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง การเสริมพลังชุมชน (Community Empowerment) การสนับสนุนให้บุคคล ครอบครัวและชุมชน มีศักยภาพในการจัดการปัญหาสุขภาพ ด้วยกลไก 3 ก. แกนนำ(อสม./จิตอาสา) กรรมการ กองทุน ขับเคลื่อนด้วยแผนสุขภาพตำบล