เทคนิคการสร้างเสริมเด็กวัยเรียน นายอัตถพงศ์ ถนิมพาสน์ นักจิตวิทยา ระดับเชี่ยวชาญ
- วัยก่อนคลอด (เริ่มตั้งแต่ครรภ์ - คลอด) วัยรุ่น (16-25 ปี) ทฤษฎีพัฒนาการ แบ่งวัยพัฒนาการของมนุษย์ ดังนี้ - วัยก่อนคลอด (เริ่มตั้งแต่ครรภ์ - คลอด) วัยรุ่น (16-25 ปี) วัยผู้ใหญ่ตอนต้น (25-40 ปี) วัยกลางคน (40-65 ปี) วัยชรา (65 ปีขึ้นไป) - วัยทารก - วัยเด็กตอนต้น 0-6 ปี - วัยเด็กตอนปลาย (6-12 ปี) - วัยแรกรุ่น (12-15 ปี
พัฒนาการด้านร่างกาย พัฒนาการด้านภาษา พัฒนาการด้านอารมณ์ พัฒนาการด้านสังคม
พัฒนาการด้านร่างกาย วัยแรกคลอด ถึง 2 ขวบ
การเรียนรู้ทาง สังคม
สังคมกับเพื่อน
ระดับพัฒนาการของเด็ก เด็กเล็กมักเอาแต่ใจตนเองและมีช่วงความสนใจสั้น การใช้ตุ๊กตาหรือตุ๊กตาสรีระ (anatomical correct dolls) จะช่วยให้เด็กสามารถเล่าเรื่องได้ดีขึ้น ผู้สัมภาษณ์จำเป็นต้องสังเกตพฤติกรรมเด็กร่วมด้วย เด็กอายุต่ำกว่า 5 ขวบ จะนึกถึงเรื่องที่ผ่านมาได้น้อยกว่าเด็กโตหรือผู้ใหญ่ เด็กอายุต่ำกว่า 8 ปี จำเป็น ต้องใช้ของเล่นและการวาดภาพในการสร้างสัมพันธภาพกับเด็ก
การสื่อภาษา เด็กเล็กจะใช้ภาษาได้ไม่ดีเท่ากับเด็กโต การสัมภาษณ์เด็กจึงควรคำนึงถึงความเข้าใจภาษาและความสามารถในการใช้ภาษาของเด็กแต่ละวัยด้วย แม้ว่าเด็กสามารถพูดได้ตั้งแต่อายุ 1 ขวบ พัฒนาการทางภาษาจะดีขึ้นเรื่อยๆ เด็กอายุ 2 ขวบจะเข้าใจคำสั่งได้ดีทำตามคำสั่งได้ แต่ไม่สามารถพูดได้เปล่งภาษาได้ดีนัก เด็กอายุ 3 ขวบ จะช่างซักถามและโต้ตอบตรงคำถามได้ดีพอสมควร เด็กอายุ 4 ขวบจะสามารถเล่าเรื่องตามลำดับได้ แต่เด็กอาจมีจินตนาการและการเล่าเรื่องจะเกินจริงได้ เมื่อเด็กอายุ 8-9 ปี จึงจะสามารถใช้คำบุพบทและเข้าใจเหตุผลของสิ่งที่เกิดขึ้น และเมื่อเด็กอายุมากกว่า 15 ปี เขาก็จะสามารถตอบคำถามจากการสัมภาษณ์ได้ เช่นเดียวกับผู้ใหญ่
ความเข้าใจเรื่องเวลา ผู้สัมภาษณ์ควรระมัดระวังเรื่องการแปลความหมายในการให้ข้อมูลด้านเวลาของเด็ก เพราะเด็กแต่ละวัยจะมีความเข้าใจความหมายของเวลาแตกต่างกัน กล่าวคือ เด็กอายุ 2-3 ขวบ จะรู้ถึงความแตกต่างระหว่างกลางวันกับกลางคืนอย่างง่ายๆ แต่เด็กไม่สามารถใช้คำพูดอย่างถูกต้อง เด็กเข้าใจเวลาโดยเชื่อมโยงกับกิจวัตรประจำวัน เช่น ถึงเวลากินข้าว ถึงเวลานอนแล้ว ฯลฯ
ความเข้าใจเรื่องเวลา (ต่อ) อายุ 5 ปี เด็กสามารถใช้คำว่า เมื่อวาน วันนี้ พรุ่งนี้ได้อย่างถูกต้อง เด็กอายุ 9-10 ปี สามารถเข้าใจเรื่องเวลาได้อย่างถูกต้อง ความเข้าใจเรื่องเพศและสถานภาพทางสังคม เด็กอายุ 3 ขวบ จะรู้ว่าตนเองเพศอะไร และจะค่อยๆ เรียนรู้บทบาททางเพศของหญิงชายตามเพศของตน
ความเข้าใจเรื่องเวลา (ต่อ) เด็กอายุ 3-4 ขวบ สามารถเล่าเรื่องเหตุการณ์ลำกับก่อนหลังได้ ความหมายของเวลาจะต่างจากผู้ใหญ่ เช่น เด็กบอกว่าเมื่อวานนี้อาจหมายถึงเหตุการณ์ก่อนหน้านี้พรุ่งนี้อาจหมายถึงเหตุการณ์ที่กำลังจะเกิดขึ้น
การแสดงออกทางสังคม
การแสดงออกทางอารมณ์ สังคม สติปัญญา
ระดับเชาวน์ปัญญา สามารถประเมินได้จาก การใช้ศัพท์ การตอบคำถาม การใช้เหตุผล การตัดสินใจ การแก้ปัญหา ความสมารถในการชี้ส่วนต่างๆ ของร่างกาย การวาดภาพ การลบเลข รวมทั้งผลการเรียน
ลักษณะอารมณ์ การแสดงอารมณ์ เช่น วิตกกังวล ซึมเศร้า อาย กลัว เฉยเมย โกรธ ลักษณะอารมณ์ที่เปลี่ยนแปลง ง่าย หรือแสดงอารมณ์ที่ไม่เหมาะสม บางครั้งขณะสัมภาษณ์เด็กอาจแสดงอารมณ์ราวกับว่าเกิดเหตุการณ์นั้น จริงๆ ขณะนั้น
ความคิดและการรับรู้ ความคิดที่ผิดปกติ การรู้จักสถานที่ เวลา บุคคล ถามถึงอนาคตและความปราถนา 3 อย่าง การใช้กลไกทางจิต เช่น แยกตัว (withdraw) โทษคนอื่น โทษตนเอง ปฏิเสธความจริง หาเหตุผลเข้า ข้างตน ฝันกลางวัน เป็นต้น
ความจำ อาจตรวจโดยใช้ ทบทวนความจำหลังจากให้จำสิ่งของ 3 อย่าง รวบรวมและจัดทำ Digit span : เด็กอายุ 8 ปี จำตัวเลข forward 5 ตัว backward 3 ตัว เด็กอายุ 10 ปี จำตัวเลข forward 4 ตัว backward 4 ตัว
ความฝัน ดูจาก การเล่าเรื่องจากความฝัน การขอพร 3 อย่าง การเล่น การเล่าเรื่องทั่วไปและการเล่าเรื่องจากภาพ