SYSTEM ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับระบบ กลุ่มขององค์ประกอบต่าง ๆ ที่ทำงานร่วมกันเพื่อจุดประสงค์อย่างเดียวกัน
ธรรมชาติของระบบที่จะศึกษา ระบบทำอะไร (What) ทำโดยใคร (Who) ทำเมื่อไหร่ (When) ทำอย่างไร (How)
วงจรการพัฒนาระบบ system development life cycle เข้าใจปัญหา ศึกษาความเป็นไปได้ วิเคราะห์ ออกแบบ สร้าง พัฒนาระบบ การปรับเปลี่ยน บำรุงรักษา
ขั้นตอนที่ 1 ทำความเข้าใจปัญหา Problem Recognition ระบบงานเก่า ไม่ตอบสนองความต้องการตระหนักว่ามีปัญหาในระบบ อาจปรับเปลี่ยนของเก่า หรือสร้างระบบงานใหม่ขึ้นมา ระบบงานใหม่ ที่ทันสมัย มีประสิทธิภาพ
ขั้นตอนที่ 2 ศึกษาความเป็นไปได้ Feasibility Study ศึกษาปัญหาและกำหนดความเป็นไปได้ที่จะเปลี่ยนแปลงระบบ ปรับปรุงระบบเดิม หรือ สร้างระบบใหม่ เก็บรวบรวมข้อมูลที่จำเป็นทั้งหมด Hardware Software People ware
วงจรการพัฒนาระบบ system development life cycle การกำหนดความต้องการ การจัดโครงสร้างความต้องการ การสร้างและเลือกการออกแบบ เข้าใจปัญหา ศึกษาความเป็นไปได้ วิเคราะห์ ออกแบบ สร้าง พัฒนาระบบ การปรับเปลี่ยน บำรุงรักษา
ขั้นตอนที่ 3 การวิเคราะห์ การศึกษาเอกสารที่เกี่ยวข้อง เช่น คู่มือ รายงาน แบบฟอร์ม การตรวจสอบ สังเกต การทำงานประจำวัน การสัมภาษณ์ ควรทำบรรยากาศให้เป็นกันเอง ไม่ควรไปสัญญากับผู้ใช้งาน ไม่ควรออกความคิดเห็น ชี้นำ คำถามที่ใช้ ไม่ควรกว้างเกิน ตอบยาก มีการสรุปเนื้อหาที่สัมภาษณ์ เพื่อทวนข้อมูล
การกำหนดความต้องการ การสัมภาษณ์ ศึกษาเอกสาร เพื่อหาข้อมูล การสัมภาษณ์ ศึกษาเอกสาร เพื่อหาข้อมูล ควรมีการนัดหมาย แจ้งหัวข้อที่จะเก็บข้อมูล สังเกต ปฏิกิริยาผู้สัมภาษณ์ ใช้แบบสอบถาม รวบรวมข้อมูล การสัมภาษณ์แบบมีส่วนร่วม (Join Application Design : JAD ) การปรับรื้อกรรมวิธีการทำงานทางธุรกิจ ( Business Process Reengineering : BRP)
เค้าโครงการสัมภาษณ์ ผู้ให้สัมภาษณ์ ผู้สัมภาษณ์ สถานที่ สื่อที่ใช้ วัน เวลาที่นัดสัมภาษณ์ วัตถุประสงค์ หัวข้อที่จะสัมภาษณ์ เวลาโดยประมาณ การสังเกตโดยทั่วไป ประเด็นที่ยังไม่ได้พูดถึง และต้องการคำตอบ
โครงร่างปัญหาการสัมมนา อาจารย์ที่ปรึกษา : นายเพิ่มศักดิ์ พันธ์แตง ชื่อ รหัส กลุ่ม ผู้ศึกษา สาขาวิชา ชื่อเรื่อง ความสำคัญของปัญหา ระบบงานเดิม ระบบงานใหม่ แก้ปัญหาได้อย่างไร
โครงร่างปัญหาการสัมมนา วัตถุประสงค์ของการศึกษา ขอบเขตการศึกษา แผนภาพระบบงาน context diagram ประโยชน์ที่ได้รับจากการศึกษา แนวคิด ทฤษฏี งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง เครื่องมือที่ใช้ วิธีการดำเนินการศึกษา ระยะเวลาการทำงาน ภาคผนวก
โครงร่างปัญหาการสัมมนา วัตถุประสงค์ของการศึกษา ขอบเขตการศึกษา แผนภาพระบบงาน context diagram ประโยชน์ที่ได้รับจากการศึกษา แนวคิด ทฤษฏี งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง เครื่องมือที่ใช้ วิธีการดำเนินการศึกษา ระยะเวลาการทำงาน ภาคผนวก ชื่อ รหัส กลุ่ม ผู้ศึกษา สาขาวิชา ชื่อเรื่อง ความสำคัญของปัญหา ระบบงานเดิม ระบบงานใหม่