โครงการฟื้นฟูอุทยานแห่งชาติแหลมสนหลังภัยสึนามิ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ศาสตราจารย์ ดร.สมบัติ ธำรงธัญวงศ์ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์
Advertisements

“แนวทางในการปล่อยพันธุ์สัตว์น้ำ”
การประชุมครูในเขตอุทยานแห่งชาติแหลมสน
Page 1. Page 2 ประโยชน์ต่อการกำหนดนโยบาย วางแผน และกำหนดแนวทางหรือการ ปรับปรุงด้านบริหารจัดการ การเรียนการ สอน และดำเนินงานอื่นๆของมหาวิทยาลัย มีแนวทางการขอรับทุน.
ระบบการประเมินเพื่อพัฒนาผลการปฏิบัติงาน บุคลากรสายสนับสนุน
ประเด็นเน้นหนัก โครงการส่งเสริมและพัฒนาวิสาหกิจชุมชน 2550
วาระที่ 3.6 ความก้าวหน้าของการดำเนินงานเกี่ยวกับตัวชี้วัด (กพร.)
โดย โครงการช่วยกันสานเพื่อส่งเสริมคุณค่าผู้สูงอายุ
23 มีนาคม 2550, ณ หอประชุมใหญ่ กรมอุตุนิยมวิทยา
กองทุนพัฒนาไฟฟ้ากับ การพัฒนาชุมชนในพื้นที่รอบโรงไฟฟ้า
วิสัยทัศน์จังหวัดพะเยา “เมืองเกษตรปลอดภัย การท่องเที่ยวที่ยั่งยืน”
การประชุมครูในเขตอุทยานแห่งชาติแหลมสน
การประชุมครูในเขตอุทยานแห่งชาติแหลมสน
การเผยแพร่บทความวิชาการจากรายงานวิจัย
ความหมาย ปรัชญาและวัตถุประสงค์ ของงานส่งเสริมการประมง
คลื่นพายุซัดชายฝั่ง กลุ่มที่6.
การประชุมเชิงปฏิบัติการ
การประชุมเชิงปฏิบัติการ
แนวคิด ในการดำเนินงาน
ไทยสบาย หรือไทยสปายะ (Thai Spaya)
คณะผู้วิจัย ภาควิชา คณะวิศวกรรมศาสตร์ ม.เทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
การประชุมเชิงปฏิบัติการ การจัดทำแผนที่วัฒนธรรมในเขตคูเมืองลำพูน
โครงสร้างที่ ก.พ. กำหนดไว้เดิม โครงสร้างที่ขอปรับปรุงใหม่
สำนักบริหาร การมีส่วนร่วมของประชาชน
องค์กรภาครัฐในส่วนกลางในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
โครงการสร้างสำนึกพลเมือง (Project Citizen)
การใช้ทรัพยากรเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน
โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการเรื่อง “สถานการณ์มลพิษทางอากาศ ในบรรยากาศในภาคตะวันออก” หลักการและเหตุผล มลภาวะทางอากาศ (Air pollution) เป็นปัญหาสิ่งแวดล้อมที่สำคัญ.
ภาพรวมแผนผังเชิงกลยุทธ์ (Strategy Map)
การศึกษาความหลากหลายทางชีวภาพของ พืชวงศ์ขิงในภูวังงาม จังหวัดอุดรธานี
ลำดับที่ แผนงาน/โครงการ พื้นที่เป้าหมาย (อำเภอ) เป้าหมาย (หน่วยนับ)
การอนุรักษ์ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมในการผลิตพืช
แนวทางการบริหารการจัดเก็บ ข้อมูล จปฐ. และ ข้อมูลพื้นฐาน ปี 2557
การพัฒนากลุ่มแม่บ้านเกษตรกร เป็นเกษตรกรปราดเปรื่อง (Smart Farmer)
กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
การจัดทำคำของบประมาณรายจ่าย กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย 2550 รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย 2550 มาตรา 66 บุคคลซึ่งรวมกันเป็นชุมชน ชุมชนท้องถิ่น หรือชุมชนท้องถิ่นดั้งเดิม.
แนวปฏิบัติในการขอทำประโยชน์ในเขตป่า
ยุทธศาสตร์ การป้องกันควบคุมไข้หวัดนก
รายงานประจำปี 2553 ANNUAL REPORT โครงสร้างการ บริหารงาน คณะกรรมการบริหาร สถาบันวิจัย คณะกรรมการเพื่อ ความปลอดภัยทาง ชีวภาพ คณะกรรมการ จริยธรรมการวิจัยใน.
ตัวอย่าง ตารางกรอบแผนการบริหารจัดการและพัฒนาลุ่มน้ำ แบบบูรณาการ
การประชุมผู้บริหารกรมทรัพยากรน้ำ ครั้งที่ 9/2549 ระเบียบวาระที่ 4.4 การจัดทำคำของบประมาณจาก กองทุนสิ่งแวดล้อมเพื่อการฟื้นฟู อนุรักษ์แหล่งน้ำ ธรรมชาติ การจัดทำข้อเสนอโครงการเพื่อ.
วาระที่ 3.5 การขอสนับสนุนงบประมาณ จากกองทุนสิ่งแวดล้อม
การดำเนินงานกรมสุขภาพจิต
ระดับเขต : สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 4 จังหวัดราชบุรี
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ และ อำเภอพร้าว จังหวัดเชียงใหม่
ระดับท้องถิ่น/พื้นที่
การบริหารงานจังหวัดลพบุรีแบบ บูรณาการ กพร.- TRIS 18/05/2549.
สมาชิกกลุ่มที่ 1 นางวันเพ็ญ มหาชัย อ.วังวิเศษ จ.ตรัง ประธาน
ระบบและกลไก การดำเนินงานประกันคุณภาพการศึกษาในกลุ่มนักศึกษา วิทยาลัยการสาธารณสุขสิรินธร จังหวัดขอนแก่น LOGO.
การป้องกันและควบคุมโรคในเขตบริการสุขภาพ
การวิจัยเพื่อท้องถิ่น: ความรู้เพื่อเสริมความแกร่ง (เข้มแข็ง) ของชุมชน
ครั้งที่ 1 วันที่ กุมภาพันธ์ 2556
การบรรยายเรื่องการประกันคุณภาพการศึกษา สำหรับนักศึกษาคณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 13 มิถุนายน 2547.
ระบบเตือนภัยศัตรูพืช
โดย นายแพทย์เกียรติภูมิ วงศ์รจิต รองอธิบดีกรมสุขภาพจิต
นักศึกษาสาขาวิชา นโยบายสาธารณะ คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี ได้ไปปฏิบัติงานสหกิจศึกษา ระหว่างวันที่ 1 เดือน พฤศจิกายน พ.ศ.
- อาจารย์ - บุคลากร - นักศึกษา ทุนอุดหนุนการวิจัยประเภท งานวิจัยตามพันธกิจ และอัตลักษณ์ของ มหาวิทยาลัย.
งานวิเทศสัมพันธ์ ผศ.ดร.นิศากร ประคองชาติ
กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
ชุดโครงการวิจัย ระบบสนับสนุนการตัดสินใจในการปลูกยางพาราในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ: กรณีศึกษาจังหวัดอุบลราชธานี (Decision Support System for Rubber Plantation.
ระบบส่งเสริมการเกษตร
บทสรุป แนวทางการส่งเสริมการวิจัย ของอุดมศึกษาไทย
แผนงานป้องกันและลดผลกระทบจากการ เปลี่ยนแปลง สภาวะภูมิอากาศ โครงการอนุรักษ์และฟื้นฟูทรัพยากรอุทยาน แห่งชาติทางทะเล ( กิจกรรมจัดการแนวปะการังและชายหาด )
โครงการวิจัย เรื่อง การศึกษาการบริหารจัดการขยะและเทคโนโลยีที่เหมาะสมโดยการมีส่วนร่วมของชุมชน.
จังหวัดนราธิวาส โครงการบำบัดทุกข์ บำรุงสุข แบบ ABC
หน่วยการเรียนที่ 2 สิ่งแวดล้อม และทรัพยากรทางธรรมชาติ
บทสรุปจากการประชุม เครือข่ายระบบสารสนเทศน้ำจังหวัด
คำขวัญประจำจังหวัด เหนือสุดในสยาม ชายแดนสามแผ่นดิน ถิ่นวัฒนธรรมล้านนา
หนึ่งในพันธกิจของคณะเทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม มอ. ภูเก็ต คือ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

โครงการฟื้นฟูอุทยานแห่งชาติแหลมสนหลังภัยสึนามิ Science Meeting In Bangkok 3rd July 2006

Introduction เป็นที่ทราบกันที่ว่าตลอดแนวชายฝั่งทั้ง 2 ด้านของประเทศไทยอุดมไปด้วยทรัพยากรธรรมชาติทั้งในแง่ความหนาแน่นและความหลากหลายทางชนิด ตลอดช่วงหลายทศวรรษที่ผ่านมาทรัพยากรธรรมชาติถูกนำมาใช้ประโยชน์อย่างมากจนอาจเกินศักย์การผลิตทางธรรมชาติ และในขณะเดียวกันแหล่งที่อยู่อาศัยชายฝั่งรบกวนและบางแห่งถึงขั้นทำลายจนมีพื้นที่ลดน้อยลงอย่างน่าใจหาย ตัวอย่างเช่นป่าชายเลนและแนวปะการัง เป็นต้น มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ในฐานะสถาบันการศึกษาที่ให้ความสำคัญในการเรียนการสอนและการวิจัยเกี่ยวกับทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม จึงได้จัดตั้งสถานีวิจัยทรัพยากรชายฝั่งระนอง ณ หาดประพาส กิ่งอำเภอสุขสำราญ จังหวัดระนอง เพื่อดำเนินการศึกษาวิจัยและให้ความรู้แก่ชุมชนท้องถิ่นในการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติให้มีคงอยู่อย่างยั่งยืนตลอดไป โดยไม่มีใครคาดคิดในวันที่ 26 ธันวาคม 2547 ได้เกิดพิบัติภัยคลื่นสึนามิเข้าทำลาย 6 จังหวัดตามแนวชายฝั่งทะเลอันดามันและพื้นที่หนึ่งที่ถูกอิทธิพลของคลื่นยักษ์เข้าทำลายคือ สถานีวิจัยทรัพยากรชายฝั่งระนองจนเกิดความเสียหายทั้งชีวิตของเจ้าหน้าที่ และทรัพย์สินต่าง ๆ ของทางราชการและชุมชนที่อยู่ในบริเวณใกล้เคียง ในขณะเดียวกันทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมตลอดชายฝั่งทะเลอันดามันได้รับอิทธิพลและถูกรบกวนทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงตามธรรมชาติซึ่งเป็นเรื่องที่น่าสนใจอย่างยิ่งสำหรับวงการด้านสมุทรศาสตร์และสิ่งแวดล้อมทางทะเล สหภาพยุโรปได้เล็งเห็นความสำคัญในการฟื้นฟูทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมชายฝั่งทะเลในบริเวณอุทยานแห่งชาติแหลมสนซึ่งเป็นพื้นที่ในความรับผิดชอบของสถานีวิจัยทรัพยากรชายฝั่งระนอง จึงได้ให้การสนับสนุนเงินทุนในการดำเนินงานการจัดการและเฝ้าติดตามอิทธิพลของคลื่นสึนามิต่อทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมชายฝั่งในพื้นที่อุทยานแห่งชาติแหลมสน เป็นโครงการระยะเวลา 3 ปี ตั้งแต่เดือนกุมภาพันธ์ 2549 ภายใต้โครงการดังกล่าวกิจกรรมหนึ่งที่สำคัญ คือ การสัมมนาเชิงปฏิบัติการ เรื่อง แนวทางการจัดการทรัพยากรชายฝั่งที่เหมาะสม (Approaches to Coastal Zone Management) เพื่อเปิดโอกาสให้นักวิชาการ และผู้บริหารที่เกี่ยวข้องทางด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมได้ปรึกษาและแลกเปลี่ยนความรู้และความคิดเห็นในการนำไปใช้ในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมชายฝั่งทะเลได้อย่างเหมาะสม ซึ่งผลจากการจัดการอย่างถูกต้องไม่เพียงรักษาทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อมชายฝั่งของประเทศไทย แต่จะยังผลต่อการรักษาสมบัติทางธรรมชาติของโลกอีกด้วย

Meeting Programme “Approaches to Coastal Zone Management” Monitoring and managing the marine resources of Laem Son national Park following Tsunami Project Monday 3rd July 2006 Nontri 3 meeting room at KU HOME, Kasetsart University, Bangkok 8:45 – 9:00 Welcome and Introduction to the project By Chittima Aryuthaka and Mike Kendall Session 1 9:00 – 9:30 Presentation “Climate Change and its impact on management” by Mike Kendall 9:30 – 10:00 “Lesson Learned from CHARM Project”by Sanchai Tanthawanich (Director of CHARM) 10:00 – 10:30 “Ocean Acidification” by Steve Widdicombe 10:30 – 10:45 Morning tea 10:45 – 11:15 “Coastal and Marine resources after Tsunami” by Jerdjinda Chotiyaputta 11:15 – 11:45 “Future Tourism and Biological Diversity” by Thon Thomrongnawasawas 11:45 – 13:00 Lunch

Session 2 13:00 – 13:30 “Map based management” by Bob Foster Smith 13:30 – 14:00 “Biomarkers and their role in monitoring” by Mike Kendall 14:00 – 14:20 Afternoon Tea 14:20 – 14:50 “Approaches to the design of monitoring” by Paul Somerfield 14:50 – 15:20 “Awareness and view from the representative of National Park” by Suwan Pitaksintorn 15:20 – 16:00 Discussion to cover ongoing work within Thai government on management and monitoring Travel bursaries scheme launch

Content Presentation List Participants List Activity

Presentation List Approaches to coastal zone management “Climate Change and its impact on management” by Mike A. Kendall “Lesson Learned from CHARM Project” by Sanchai Tanthawanich Ocean Acidification by Steve Widdicombe “Coastal and Marine resources after Tsunami” by Jerdjinda Chotiyaputta BFS spatial planning by Bob Foster Smith Biomarkers and Ecosystem Health by Mike A. Kendall “Approaches to the design of monitoring” by Paul Somerfield The travel bursary scheme

Participants List Attendee In English Position Organization ดร. พรสุข จงประเสริฐ Dr. Pornsook Chongprasith ผู้อำนวยการส่วนแหล่งน้ำทะเล Marine Environment Division Pollution Control Department ดร. เจิดจินดา โชติยะปุตตะ Dr. Cherdjinda Chotiyaputta ผู้เชี่ยวชาญเฉพาะด้านการจัดการทรัพยากรทางทะเล Department of Marine and Coastal Resources คุณสุวรรณ พิทักษ์สินธร Suwan Pithaksinthorn ผู้เชี่ยวชาญด้านการจัดการทรัพยากรชายฝั่ง Department of National Park คุณสัญชัย ตัณฑวณิช Sanchai Tanthawanich ผู้อำนวยการโครงการฝ่ายไทย CHARM Project ศ.ดร.รังสิต สุวรรณมรรคา Prof. Dr.Rangsit Suwanmakkha ผู้อำนวยการ KURDI ผศ.สิทธิชัย เกษตรเกษม Assist.Prof. Sitthichai Kasetkasem Deputy director/head of RCRRS ผศ.สุนันท์ ภัทรจินดา Assist.Prof. Sunan Patarajinda Head of Department Dept.Marine Science, Faculty of fisheries ดร.สุริยัน ธัญกิจจานุกิจ Dr. Suriyan Tunyakijjanukij Lecturer Dept. Marine Science, Faculty of Fisheries ดร.ธรณ์ ธำรงนาวาสวัสดิ์ Dr. Thorn Thanrongnawasawat

ผศ.ธีรพงศ์ ด้วงดี Assist.Prof. Teerapong Duangdee Lecturer Dept. Marine Science, Faculty of Fisheries คุณมิกมินทร์ จารุจินดา Mickmin Charujinda Director East Marine and Coastal Research Centre,DMCR คุณอัญชลี จันทร์คง Anchalee Chankong นักวิชาการ คุณจันทร์เพ็ญ วุฒิวงศ์ Chanpen Wutthiwong คุณพจนา บุญยเนตร Potchana Boonyanate คุณอาทร วีระเศรษฐกุล Athorn Weerasetthakul เจ้าหน้าที่วิเคราะห์นโยบายและแผน Office of natural Resources and Environmental Policy and Planning (ONEP) คุณมาริสา อิงธรรมจิตร Marisa Ingthamjit นักวิชาการสิ่งแวดล้อม คุณจงกลนี แช่มช้าง Jongkonnee Chamchang รอง ผอ.โครงการ CHARM Project

คุณมัณฑนา ภิรมย์นิ่ม Manthana Phiromnim หัวหน้าฝ่ายเผยแพร่และประชาสัมพันธ์ CHARM Project นายบำรุงศักดิ์ ฉัตรอนันทเวช Bamroongsak Chatananthawej นักวิชาการประมง Department of Marine and Coastal Resources, Ministry of Natural Resources and Environmental นายสมโภชน์ นิ้มสันติเจริญ Sompoch Nimsantijareon RCRRS นส.ชนชนก อรุณเลิศ Chonchanok Aroonlert นักวิชาการสิ่งแวดล้อม 5 คพ. นส.เนตรดาว วิเศษโส Natedaw Wisesso กรมประมง นส.อนิดา สงนุ้ย Anida Songnui

Presentation by Dr. Chittima Aryuttaka Activity Presentation by Dr. Chittima Aryuttaka

Presentation by Dr. Mike A. Kendall

Presentation by Sanchai Tanthawanich

Presentation by Steve Widdicombe

Presentation by DR. Jerdjinda Chotiyaputta

Presentation by DR. Thon Thomrongnawasawas

Lunch Time

Presentation by Bob Foster Smith

Presentation by Paul Somerfield

The End