แนวทางและกลไกการสนับสนุน ทุนอุดหนุนวิจัย โดย รศ.ดร. สามัคคี บุณยะวัฒน์ รองอธิการบดีฝ่ายวิจัย
งบประมาณทุนอุดหนุนวิจัย มก. ปี 2547-2548 (ล้านบาท) ชื่อโครงการ ปี 2547 ปี 2548 หมวดเงินอุดหนุนทั่วไป 203.8 246.4 1. โครงการวิจัยประยุกต์สาขาเกษตรศาสตร์ 48.1 50.0 2. โครงการฯ สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 23.0 30.0 3. โครงการฯ สาขาสังคมและพฤติกรรมศาสตร์ 12.2 14.0 4. โครงการวิจัยเพื่อพัฒนาหน่วยปฏิบัติการ 5.7 14.4 วิจัยเชี่ยวชาญเฉพาะ 5. โครงการวิจัยเพื่อสนับสนุนบัณฑิตศึกษา 5.0 5.0 6. โครงการวิจัยและถ่ายทอดสู่ประชาชน 36.0 36.0 7. โครงการวิจัยเพื่อเสริมสร้างความเข้มแข็ง 37.7 - 8. โครงการวิจัยสถาบันเพื่อพัฒนาคุณภาพ 35.1 35.0 9. มก. เตรียมงบกลางไว้ - 62.0 หมวดเงินอุดหนุนเฉพาะกิจ 20.5 - รวม 223.3 246.4 (5.9)
รายละเอียดการสนับสนุนทุน ตามเอกสาร แหล่งทุนที่สำคัญ แหล่งทุนอุดหนุนวิจัยภายนอกมหาวิทยาลัย สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช.) สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) สำนักงานคณะกรรมการอุดมศึกษา (สกอ.) ส่วนราชการต่างๆ เอกชน มูลนิธิ ฯลฯ รายละเอียดการสนับสนุนทุน ตามเอกสาร แหล่งทุนที่สำคัญ และ Website)
แหล่งทุน และหน่วยงานที่ให้ทุน (ภายนอก มก.) (ล้านบาท) แหล่งทุน/ 2545 2546 2547 หน่วยงานที่ให้ทุน งบประมาณ งบประมาณ งบประมาณ 1. องค์กรของรัฐ (188.2) (179.8) (178.6) 1) สนง. คณะ กก.วิจัยแห่งชาติ 31.9 21.6 91.9 2) สนง. กองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) 31.2 47.2 14.2 3) สนง. คณะ กก. อุดมศึกษา (ทบวงฯ) / (สกอ.) 11.6 27.2 37.1 4) สนง. คณะ กก. พัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ - 24.7 5.0 5) กระทรวงวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี 0.8 5.4 43.2 6) ศูนย์พันธุวิศวกรรม และเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ 4.6 1.2 - 2. องค์กรอิสระ และเอกชน (48.4) (26.4) (7.1) 1) มูลนิธิโครงการหลวง 1.8 2.5 6.7 2) บริษัทโฟร์บิชิเนส จำกัด 40.0 - - 3) มูลนิธิพัฒนามันสำปะหลังแห่งประเทศไทย 0.2 4.1 - 4) บริษัทยูนิลิเวอร์ไทย เทรดดิ้ง จำกัด - 10.0 -
กลไกกำกับนโยบายการวิจัย ทุกโครงการวิจัยที่ต้องลงนามโดยอธิการบดีให้ดำเนินการขออนุมัติตามขั้นตอน และตามระเบียบ ทุกโครงการวิจัยต้องบันทึกข้อมูลที่ สถาบันวิจัยและพัฒนา (สวพ.) นักวิจัย มก. ทุกคนต้องให้ข้อมูลงานวิจัยในฐานข้อมูลของ สวพ. เพื่อรับรองการพิจารณาผลการวิจัยในการขอตำแหน่งทางวิชาการ โครงการวิจัยที่ได้รับงบประมาณสนับสนุนจากภายนอก มก. ต้องจัดสรรค่าอำนวยการโครงการร้อยละ 10 ศูนย์/สถานี ต่างๆ ต้องพึ่งตนเองได้ โดยหารายได้จากแต่ละภารกิจ (หลัก และ รอง)
ระเบียบการบริหารงานวิจัยทุนอุดหนุนโดยแหล่งทุน ภายนอก มก. พ.ศ. 2547 เสนอโครงการวิจัยผ่าน สวพ. หรือสำเนาแจ้ง สวพ. ทราบ อธิการบดี หรือผู้ที่อธิการบดีมอบอำนาจเป็นผู้ลงนามในสัญญา รับทุน และเบิกจ่ายเงินตามหลักเกณฑ์แหล่งทุนโดยผ่าน/แจ้ง สวพ. ทราบเพื่อเก็บในฐานข้อมูลฯ และเก็บคู่สัญญา
ระเบียบการบริหารงานวิจัยทุนอุดหนุนโดยแหล่งทุน ภายนอก มก. พ.ศ. 2547 (ต่อ) ค่าอำนวยการโครงการร้อยละ 10 ของงบดำเนินการวิจัย (ไม่รวมครุภัณฑ์ ที่ดิน สิ่งก่อสร้าง) ทั้งนี้ไม่เกินอัตราที่ แหล่งทุนกำหนด ค่าอำนวยโครงการจัดสรรให้หน่วยงานตามสัดส่วน ดังนี้ หน่วยงานระดับภาควิชา คณะ ร้อยละ 80 สถาบันวิจัย และพัฒนา ร้อยละ 15 มหาวิทยาลัย/วิทยาเขต ร้อยละ 5
งบประมาณอำนวยการส่วนที่จัดสรรให้ สถาบันวิจัย และพัฒนา ใช้จ่ายเพื่อการเสริมสร้างงานวิจัย และพัฒนาบุคลากรวิจัย ดังนี้ สนับสนุนนักวิจัยในการตีพิมพ์ผลงานวิจัย สนับสนุนนักวิจัยในการเสนอผลงานวิจัย สนับสนุนการประชุมเสวนา เพื่อพัฒนาโครงการวิจัย สนับสนุนการสร้างนักวิจัยใหม่ และพัฒนาศักยภาพ ของนักวิจัย สนับสนุนการทำกิจกรรมเสริมสร้างงานวิจัย และ พัฒนาบุคลากรวิจัย
ของสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช.) แผนการวิจัยแบบบูรณาการประจำปี 2549 ของสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช.) โดย รองอธิการบดีฝ่ายวิจัย
งานวิจัยแบบบูรณาการ ประจำปี พ.ศ. 2547 - 2548 แบ่งออกเป็น 7 กลุ่ม (clusters) ได้แก่ 1. สมุนไพร 2. ยา 3. เทคโนโลยีและการแพทย์ 4. สังคมและการศึกษา 5. Branding 6. อาหาร คน และสัตว์ 7. การบริหารงานโครงการวิจัยบูรณาการ
เกณฑ์การคัดเลือกโครงการวิจัยแบบบูรณาการ (กำหนดโดย วช.) เกณฑ์การคัดเลือกโครงการวิจัยแบบบูรณาการ (กำหนดโดย วช.) เกณฑ์ด้านประเด็นวิจัย 1. มีความสอดคล้องกับยุทธศาสตร์ชาติ 2. ไม่ซ้ำซ้อนกับงานวิจัยที่หน่วยงานใดหน่วยงานหนึ่งกำลังทำ หรือ ได้ทำแล้ว 3. เป็นเรื่องที่ต้องการองค์ความรู้เพิ่มเติมในการแก้ไขปัญหา และสามารถขจัดปัญหาขาดข้อต่อ (missing link) ในการ บรรลุเป้าหมายความสำเร็จ 4. เป็นเรื่องที่มีความสำคัญหรือเร่งด่วนสูง 5. เน้นมาตรการแก้ไขปัญหาซึ่งสามารถเห็นผลรูปธรรมได้ในระยะสั้น
เกณฑ์การคัดเลือกโครงการวิจัยแบบบูรณาการ (ต่อ) เกณฑ์ด้านองค์กร/ผู้วิจัย ผู้วิจัยเข้าใจการวิจัยแบบบูรณาการและสามารถแสดงความ เชื่อมโยงระหว่างผลงานวิจัยส่วนต่างๆ และระหว่างผลงานวิจัย กับยุทธศาสตร์ชาติ และการดำเนินงานของหน่วยงานองค์กร 2. เป็นความร่วมมือระหว่างหลายหน่วยงาน มีศักยภาพสูงที่จะพัฒนาเป็น hub การศึกษาวิจัยในประเด็นนั้นๆ ในระดับชาติ และระดับภูมิภาค ผู้วิจัยมีความพร้อมในการดำเนินการแบบ interactive และเต็มใจ ดำเนินการ หรือสนับสนุนการดำเนินงานต่อเนื่องในขั้นปฏิบัติการ
จำนวนโครงการวิจัยแบบบูรณาการ ปี พ.ศ. 2547 - 2548 โครงการต่อเนื่อง โครงการใหม่ 2547 มก. 45 8 - 2548 34 4 32 2
โครงการวิจัยบูรณาการ โครงการวิจัยบูรณาการ นำร่อง ปี 2547 โครงการวิจัยบูรณาการ (ใหม่ ) ปี 2548 มก. ได้รับจัดสรร 32 โครงการ งบประมาณ 68,265,000 บาท จำนวน 8 ชุดโครงการ มก. เสนอ 39 โครงการ งบประมาณ 604,628,200 บาท ผ่านการพิจารณาของ วช. 9 โครงการ ( 4 ชุดโครงการเดิม)
ปัญหาอุปสรรค 1. คณะทำงาน ผู้ประสานงาน และนักวิจัย มีความเข้าใจแนวคิดของการวิจัย บูรณาการไม่ตรงกัน 2. แนวทางการวิจัยหน่วยงานต่างๆ ที่เกี่ยวข้องยังมีส่วนร่วมน้อย ไม่มีความ ยืดหยุ่นให้สามารถตอบรับสถานการณ์ที่เปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วได้ 3. ประกาศรับโครงการวิจัยแบบเปิดทั่วๆ ไป ทำให้หัวข้อวิจัยกว้าง หลากหลาย และไม่ตรงประเด็น จึงทำให้การคัดเลือกโครงการต้องใช้เวลา และทรัพยากรสูง 4. ต้องมีผู้ประสานงานวิจัย เป็นตัวกลางระหว่างสำนักงานคณะกรรมการ วิจัยแห่งชาติกับนักวิจัยโครงการย่อย 5. ลงนามข้อตกลงกับมหาวิทยาลัย เกิดช่องว่างระหว่างมหาวิทยาลัยกับ ผู้ประสานงาน ทำให้ได้เงินสนับสนุนช้า 6. ความไม่ชัดเจนของนโยบายร่วมมือกับเอกชน โดยเฉพาะด้านสนับสนุน งบประมาณ
ข้อเสนอแนะ ควรกำหนดภาพใหญ่การวิจัยของประเทศ และพัฒนาระบบวิจัยของชาติ ให้เป็น agenda-based หน่วยงานที่รับผิดชอบต้องมีความชัดเจนเกี่ยวกับบทบาทหน้าที่ของ ตนเอง และวัตถุประสงค์ในการทำงาน ให้ทุกฝ่าย (ภาครัฐ และเอกชน) ได้เข้ามามีส่วนร่วมในการกำหนดโจทย์ วิจัยให้เห็นภาพใหญ่ที่มีข้อต่อร่วมกัน จัดกระบวนการหนุนเสริมให้เกิดความร่วมมือกับกระทรวงต่าง ๆ เพื่อ ให้งานวิจัยสามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้จริง จัดกระบวนการหนุนเสริมให้นักวิจัยหลากหลายสาขาร่วมกันเสนอเป็น ชุดโครงการวิจัยภายใต้โจทย์ที่กำหนด รูปแบบการรายงานผลการวิจัยไม่จำเป็นต้องยึดถือการรายงานตาม แบบการวิจัยทางวิชาการทั่วๆ ไปที่เต็มไปด้วยการอ้างอิง
งานวิจัยแบบบูรณาการ ประจำปี 2549 วช. จึงได้ปรับเปลี่ยนจากการแบ่งเป็น 7 กลุ่ม มาเป็น 29 ประเด็น ที่สนับสนุน 5 ยุทธศาสตร์ของชาติ พร้อมทั้งเกณฑ์ความเหมาะสม ดังนี้ 1. ยุทธศาสตร์ความมั่นคง การต่างประเทศ และการอำนวยความยุติธรรม ความมั่นคง 1.1 การจัดการความขัดแย้งจากนโยบายการพัฒนาสำคัญและ โครงการขนาดใหญ่ (A) 1.2 ระบบบริหารจัดการพื้นที่ชายแดน (A) 1.3 พื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้ (A)
งานวิจัยแบบบูรณาการ ประจำปี 2549 (ต่อ) ยุทธศาสตร์ความมั่นคง การต่างประเทศ และการอำนวยความยุติธรรม (ต่อ) การต่างประเทศ 1.4 ความสัมพันธ์กับสหรัฐอเมริกา (A) 1.5 การทูตเชิงรุก (A) 1.6 การจัดตั้งเขตการค้าเสรี (A) 1.7 การทูตเชิงวัฒนธรรม (B) 1.8 การบริหารราชการแบบบูรณาการในต่างประเทศ (A)
งานวิจัยแบบบูรณาการ ประจำปี 2549 (ต่อ) ยุทธศาสตร์ความมั่นคง การต่างประเทศ และการอำนวยความยุติธรรม (ต่อ) การอำนวยความยุติธรรม 1.9 การบริหารกระบวนการยุติธรรม (B) 1.10 กฎหมายและกระบวนการยุติธรรมเพื่อรองรับพันธะกรณี ระหว่างประเทศ และรับมือกับข้อพิพาทระหว่างประเทศ (A)
งานวิจัยแบบบูรณาการ ประจำปี 2549 (ต่อ) ยุทธศาสตร์เพื่อเพิ่มศักยภาพในการแข่งขันของประเทศ 2.1 การพัฒนาวิสาหกิจชุมชนและความเชื่อมโยงกับ วิสาหกิจรูปแบบอื่นๆ และอุตสาหกรรมหลัก (A) 2.2 การต่อยอดสร้างมูลค่าเพิ่มให้ภูมิปัญญา วัฒนธรรม และเทคโนโลยีท้องถิ่น (A) 2.3 การผลิตกำลังคนทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี และ พัฒนาบุคลากรทางวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีระดับสูง (B) 2.4 การสร้างความเข้มแข็งให้ระบบและกลไกการศึกษาเพื่อ สร้างวัตกรรมและองค์ความรู้ (B)
งานวิจัยแบบบูรณาการ ประจำปี 2549 (ต่อ) ยุทธศาสตร์การพัฒนาทุนทางสังคม การแก้ไขปัญหาความยากจน และการยกระดับคุณภาพชีวิต 3.1 ระบบการคุ้มครองทางสังคม (B) 3.2 ผลกระทบและการรับมือกับการเปิดการค้าเสรี (A) 3.3 การบริหารจัดการชุมชนแบบบูรณาการ (B) 3.4 การปฏิรูปการเรียนรู้เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิต (B) 3.5 การพัฒนาทุนทางวัฒนธรรมให้เกิดคุณค่าทางสังคมและ มูลค่าทางเศรษฐกิจ (B)
งานวิจัยแบบบูรณาการ ประจำปี 2549 (ต่อ) ยุทธศาสตร์การเสริมสร้างการพัฒนาที่ยั่งยืนของประเทศ 4.1 การสนับสนุนเศรษฐกิจพอเพียงและการบริโภคอย่างยั่งยืน (A) 4.2 การสร้างสมดุลระหว่างการใช้ประโยชน์กับการอนุรักษ์ (B) 4.3 การผลิต ผลิตภัณฑ์และบริการที่สะอาด (A) 4.4 การบริหารจัดการน้ำ – ลุ่มน้ำ และพื้นที่ส่วนขยายของเมือง และพื้นที่พัฒนาพิเศษ (A) 4.5 การใช้พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพและพลังงานทดแทน (A)
งานวิจัยแบบบูรณาการ ประจำปี 2549 (ต่อ) ยุทธศาสตร์การบริหารจัดการประเทศ 5.1 การพัฒนาความสามารถในการบริหารจัดการแบบ บูรณาการ (A) 5.2 กลไกการตรวจสอบถ่วงดุล (A) 5.3 การกระจายอำนาจ (A) 5.4 การมีส่วนร่วมของประชาชน (A) 5.5 ระบบการบริหารจัดการระดับชาติและพื้นที่เพื่อ ประเมิน ป้องกัน และรับมือวิกฤต (A) หมายเหตุ A - เหมาะสมมาก B - เหมาะสมปานกลาง
ตัวอย่าง ประเด็นสำคัญ ทิศทางการวิจัย 3.2 ผลกระทบและ การรับมือกับ การค้าเสรี ศึกษาผลกระทบของข้อตกลงทางการค้าต่างๆ ที่มีต่อปัญหาความยากจน เพื่อหาแนวทางการ บรรเทาปัญหาที่เกิดแก่เกษตรกรและชุมชน การสร้างและเผยแพร่ความรู้ที่เกี่ยวข้องกับการ ปรับปรุงคุณภาพมาตรฐานการผลิตให้แก่ เครือข่ายเกษตรกร วิสาหกิจชุมชน และ ผู้ประกอบการรายย่อย
ตัวอย่าง ประเด็นสำคัญ ทิศทางการวิจัย 3.3 การบริหาร จัดการชุมชน แบบบูรณาการ แนวทางการเสริมสร้างชุมชนให้เข้มแข็ง โดย บริหาร จัดการ ชุมชนแบบบูรณาการ ใช้แผน พัฒนาชุมชนเป็นแกนกลางในการบริหาร โดย เชื่อมโยงกับการบริหารจัดการระดับจังหวัด แบบบูรณาการอย่างเป็นระบบ แนวทางการพัฒนาสังคมให้เข้มแข็ง สามารถ จัดการปัญหา และพัฒนาตนเองอย่างยั่งยืน สามารถรับมือกับสถานการณ์ทางเศรษฐกิจ ที่ผันผวนอย่างรวดเร็วและรุนแรง โดยยึด แนวคิดปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ตัวอย่าง ประเด็นสำคัญ ทิศทางการวิจัย 3.4 การปฏิรูปการ เรียนรู้เพื่อ 3.4 การปฏิรูปการ เรียนรู้เพื่อ พัฒนาคุณภาพ ชีวิต รูปแบบความร่วมมือของโรงเรียน ชุมชน และ หน่วยผลิต หน่วยงาน/องค์กรในและนอกชุมชน เพื่อพัฒนารูปแบบการเรียนรู้ที่เชื่อมโยงการ เรียนรู้ในระบบ นอกระบบ และตลอดชีวิต เช่น การพัฒนาแหล่งเรียนรู้/ศูนย์การเรียนรู้ รูปแบบการจัดการศึกษา/การพัฒนาหลักสูตรของ วิทยาลัยชุมชนที่เสริมสร้างความรู้ ทักษะ วิชาชีพ
ตัวอย่าง ประเด็นสำคัญ 3.5 การพัฒนาทุน ทางวัฒนธรรม ให้เกิดคุณค่า 3.5 การพัฒนาทุน ทางวัฒนธรรม ให้เกิดคุณค่า ทางสังคม ทิศทางการวิจัย ช่องทาง วิธีการแลกเปลี่ยนส่งผ่านวัฒนธรรมของ สังคมไทยในปัจจุบัน ศึกษาเปรียบเทียบโอกาส และประสบการณ์ เรียนรู้ทางวัฒนธรรมของคนไทยกลุ่มต่าง ๆ เช่น ในเมืองและชนบท คนกลุ่มอายุต่าง ๆ และ แนวทางการเพิ่มพูนโอกาสและ ประสบการณ์ของแต่ละกลุ่ม
ตัวอย่าง ประเด็นสำคัญ ทิศทางการวิจัย 4.1 การสนับสนุน เศรษฐกิจพอเพียง 4.1 การสนับสนุน เศรษฐกิจพอเพียง และการบริโภค อย่างยั่งยืน การวางแผนพัฒนาพื้นที่ตามแนวทาง “เศรษฐกิจพอเพียง” การนำแนวทางเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ใน ภาคส่วนต่างๆ เช่น เกษตร อุตสาหกรรม ท่องเที่ยว ฯลฯ ประเมินโอกาสการขยายเครือข่ายเศรษฐกิจ พอเพียงในพื้นที่ และภาคส่วนต่าง
ตัวอย่าง ประเด็นสำคัญ ทิศทางการวิจัย 4.3 การผลิต ผลิตภัณฑ์ 4.3 การผลิต ผลิตภัณฑ์ และ บริการที่ สะอาด เครื่องมือทางการเงินและการคลังเพื่อ ส่งเสริมเทคโนโลยีและผลิตภัณฑ์สะอาด เช่น การประเมินความเสี่ยงด้านสิ่งแวดล้อม การประกันสิ่งแวดล้อม ภาษีสิ่งแวดล้อม สำรวจทัศนคติ วิถีชีวิตของคนกลุ่มต่างๆ เพื่อประเมินความต้องการ / การตอบรับ ผลิตภัณฑ์สะอาด
ตัวอย่าง ประเด็นสำคัญ ทิศทางการวิจัย 4.3 การผลิต ผลิตภัณฑ์ 4.3 การผลิต ผลิตภัณฑ์ และ บริการที่ สะอาด พัฒนาแนวทางการตลาด เพื่อสิ่งแวดล้อม เพื่อส่งเสริมเทคโนโลยีและผลิตภัณฑ์สะอาด พัฒนาคู่มือเทคโนโลยีสะอาดรายสาขาเพิ่มเติม (ปัจจุบันมีสิ่งทอ อาหาร) การใช้สารอื่นทดแทนการใช้สารเคมีและ สารพิษในอุตสาหกรรมการออกแบบ เชิงนิเวศ (eco – design)
ตัวอย่าง ประเด็นสำคัญ ทิศทางการวิจัย 4.4 การบริหาร จัดการน้ำ – ลุ่มน้ำ 4.4 การบริหาร จัดการน้ำ – ลุ่มน้ำ และพื้นที่ขยาย ของเมืองและพื้นที่ พัฒนาพิเศษ แนวทางและเครื่องมือการวางแผนพัฒนา ลุ่มน้ำบนฐานศักยภาพของพื้นที่และความ จำเป็น/ความต้องการของประชาชนในพื้นที่ การเชื่อมโยงภูมิปัญญาท้องถิ่นในการจัดการ น้ำ กับระบบ/เทคนิคการจัดการน้ำของภาครัฐ
ตัวอย่าง ประเด็นสำคัญ ทิศทางการวิจัย 4.4 การบริหาร จัดการน้ำ – ลุ่มน้ำ 4.4 การบริหาร จัดการน้ำ – ลุ่มน้ำ และพื้นที่ขยาย ของเมืองและพื้นที่ พัฒนาพิเศษ ทางเลือกรูปแบบองค์กร และกลไกการ บริหารจัดการลุ่มน้ำหลัก – ลุ่มน้ำสาขา และบทบาทของผู้มีส่วนได้เสีย การบูรณาการแผนการบริหารจัดการลุ่มน้ำ กับแผนอื่นๆ เช่น แผนการท่องเที่ยว แผนพัฒนาจังหวัด แผนชุมชน ระบบการจัดการน้ำเพื่อเมืองและพื้นที่ อุตสาหกรรมที่เชื่อมโยงกับการวางแผน จัดการลุ่มน้ำ
ตัวอย่าง ประเด็นสำคัญ ทิศทางการวิจัย 4.5 การใช้พลังงานอย่าง 4.5 การใช้พลังงานอย่าง มีประสิทธิภาพและ พลังงานทดแทน สาเหตุที่โครงการอนุรักษ์พลังงาน และพลังงานทดแทนส่วนใหญ่ไม่สามารถ พัฒนาจากโครงการนำร่องสู่การ ดำเนินการเต็มรูปแบบ ทบทวนกฎระเบียบและข้อกำหนด อนุรักษ์พลังงาน เช่น กฎหมายการ ส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงาน มาตรฐาน/ ข้อกำหนดอาคารอนุรักษ์พลังงานที่ เหมาะสม กับสภาพแวดล้อม ของสังคมไทย
ตัวอย่าง ประเด็นสำคัญ ทิศทางการวิจัย 4.5 การใช้พลังงานอย่าง 4.5 การใช้พลังงานอย่าง มีประสิทธิภาพและ พลังงานทดแทน พฤติกรรม ทัศนคติ วิถีชีวิตและการใช้ พลังงานของประชาชนกลุ่มต่างๆ กับ มาตรการอนุรักษ์พลังงานที่เหมาะสม ประเมินวัฏจักรชีวิตของพลังงานทางเลือก ต่างๆ เพื่อใช้เป็นฐานในการกำหนดนโยบาย พลังงานทางเลือกแบบผสมผสาน บทเรียนความสำเร็จและล้มเหลวที่ ควรนำมาใช้ ปรับปรุงการดำเนินการใน ปัจจุบันและอนาคต
ตัวอย่าง ประเด็นสำคัญ ทิศทางการวิจัย 4.5 การใช้พลังงานอย่างมี 4.5 การใช้พลังงานอย่างมี ประสิทธิภาพ และ พลังงานทดแทน การวางแผนบูรณาการพลังงานทดแทน ในกลุ่มอุตสาหกรรมที่มีศักยภาพด้าน พลังงานทดแทนสูง เช่น อุตสาหกรรม อาหาร และผลิตภัณฑ์การเกษตร การเชื่อมโยงระบบพลังงานขนาดใหญ่ กับระบบพลังงานขนาดเล็กทั้งในด้าน นโยบายและเทคนิค การบริหารจัดการพลังงานเชิงพื้นที่ (area – based study)