บริบาลเภสัชกรรม รวดเร็วปลอดภัย คลินิกเด็กหัวใจสีเหลือง.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Medication reconciliation
Advertisements

หน่วยงานจักษุกรรม รพ.ค่ายวชิราวุธ.
การพัฒนาระบบการส่งต่อโรคเรื้อรังใกล้บ้านใกล้ใจ โรงพยาบาลท่ายาง อำเภอท่ายาง จังหวัดเพชรบุรี กฤษณา เปรมศรี 10 มกราคม
การทำงานเชิงรุกและการส่งต่อ
ความคลาดเคลื่อนในการให้ยา
สมรรถนะที่จำเป็นสำหรับผู้รับผิดชอบ การจัดการรายบุคคลในโรงพยาบาล (Case Manager และ Case Management Unit)
สถานีอนามัยบ้านแมด ตำบลดงชน อำเภอเมือง จังหวัดสกลนคร
เครื่องมือพัฒนาคุณภาพ
ดูแล ด้วยใจ ห่วงใยด้วย pap โดย ลาเดือน แก้วจินดา 04/04/60.
การดูแลผู้ติดเชื้อและผู้ป่วยเอดส์ ด้วยโปรแกรม HIVQUAL-T
โรงพยาบาลท่าม่วง อำเภอท่าม่วง จังหวัดกาญจนบุรี
โรงพยาบาลทับสะแก อำเภอทับสะแก จังหวัดประจวบคีรีขันธ์
คุณภาพมาตรฐาน บริการด้วยนำใจ สิ่งแวดล้อมสดใส ห่วงใยปวงประชา
Best Practice โรงพยาบาลสมเด็จพระญาณสังวร จังหวัดเชียงราย
สถานการณ์เอดส์ เด็ก 28 ราย ผู้ติดเชื้อและผู้ป่วยเอดส์สะสม ทั้งจังหวัด
ผลการดำเนินงานเอดส์ ปี 2550
การคัดกรองมะเร็งปากมดลูกในหญิงติดเชื้อ : ประสบการณ์โรงพยาบาลแม่ลาว Mae Lao hospital, Chiang Rai province, Thailand สุทธินีพรหมใจษา วราลักษ์ รัตนธรรม สุภาพรตันสุวรรณ.
โรงพยาบาลทับสะแก อ.ทับสะแก จ.ประจวบคีรีขันธ์ ขนาด 60 เตียง
การใช้ข้อมูลจากโปรแกรม NAP
การติดตามการตรวจ CD4 ใน Asymtomatic patient (CD4 award)
การส่งเสริมวินัยการกินยาต้านไวรัสเอดส์
25/07/2006.
การพัฒนาคุณภาพบริการ การดูแลผู้ติดเชื้อเอชไอวีและผู้ป่วยเอดส์
Adherence ภก. เสถียร วงศ์ใหญ่ โรงพยาบาลโพนพิสัย
การส่งเสริมผู้ติดเชื้อ / ผู้ป่วยเอดส์รายใหม่เข้าสู่ระบบการดูแลรักษา
1. ชื่อผลงาน: ส่งเสริมการเข้าถึงบริการอย่างเป็นมิตร
การพัฒนางานคุณภาพงานเอดส์
โครงการเพื่อนช่วยเพื่อน กลุ่มดอกไม้งาม อ.มวกเหล็ก จ.สระบุรี
การพัฒนาระบบการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก
สถานการณ์และการดำเนินงานดูแลเด็กติดเชื้อเอชไอวี
ใกล้ไกล... ไปเป็นคู่ นายดุรากร จิตรดร เจ้าพนักงานสาธารณสุขชุมชน คลินิกพิเศษ โรงพยาบาลโพนพิสัย.
การดูแล ผู้ติดเชื้อ / ผู้ป่วยเอดส์ ตำแหน่ง พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
ผลการพัฒนาการบันทึกข้อมูล HIV-QualT ในโรงพยาบาลระโนด จ. สงขลา. โดย นส
ระบบบริการดี ตรวจซีดีโฟร์ ครบตามมาตรฐาน
ผลการเฝ้าระวัง และป้องกันความล้มเหลวในการรักษาในโรงพยาบาลระโนด จ. สงขลา โดย นส.จาฤดี กองผล, นางละมัย ช่วยแดง พยาบาลประจำคลินิกยาต้านไวรัสโรงพยาบาลระโนด.
โรคหลอดเลือดสมองเสื่อม
จากก้าวแรก EWI สู่การพัฒนางาน
โครงการยิ้มสวยเสียงใส
การติดตามประเมินผล โครงการให้วัคซีนป้องกัน โรคไข้หวัดใหญ่
แนวทางการบริหารกองทุน ที่จ่ายตามเกณฑ์คุณภาพ ปีงบประมาณ 2552
คลินิกผู้สูงอายุต้นแบบ (Geriatric Clinic Model) โรงพยาบาลอุดรธานี
Case Manageme nt พิมพ์ศิริ เลี่ยวศรีสุข สถาบันสุขภาพเด็ก แห่งชาติมหาราชินี
การรายงาน ADR/ การป้องกันการแพ้ยาซ้ำ
Waiting time (OPD) ตามมาตรฐานงานเภสัชกรรมโรงพยาบาล
นโยบายของกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง การป้องกันควบคุมไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่ ชนิดเอ เอช 1 เอ็น1 การประชุมวันที่ 19 พฤษภาคม 2552.
การปรับตัว ของธุรกิจขายยา
นโยบายคุณภาพ Quality Policy
การพัฒนากิจกรรมเพื่อการป้องกันการเกิดเชื้อเอชไอวีดื้อยา
โรงพยาบาลสุรินทร์ จังหวัดสุรินทร์
บทเรียนจากการเก็บข้อมูลภาคสนามเพื่อการติดตามตาม HIVDR-EWI
สิ่งที่ต้องทำต่อ 1.นำเสนอผลสำเร็จของนโยบาย ปี นำเสนอนโยบายปี 55 และตัวชี้วัด สำคัญ ตามใบงานที่ 7 8และ 9 ประธาน : นพ.สสจ. วันที่ 13 ก.ย.54 เวลา 13.00น.
การจัดการระบบยา เพื่อ ความปลอดภัย บันไดขั้น 2 สู่ ขั้น 3.
การดำเนินงานสุขภาพจิตเครือข่าย ในเขตสุขภาพที่10 ปีงบประมาณ 2558
การพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิภายใต้บริบทของอำเภอนาด้วง
การพัฒนางานสุขภาพจิต วัยทำงาน - สูงอายุ
การให้คำปรึกษาด้านยาแก่ผู้ป่วยนอก

ชื่อผลงาน/โครงการพัฒนา นวัตกรรมผ้ายืดมหัศจรรย์
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
คณะกรรมการการดูแลผู้ป่วยโรคจิตเภท
นวัตกรรม7สี ปันรัก ไกลโรค ปี2556
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
ผลงานเด่นรพ.สต.บ้านทุ่งปี,54
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
รายงานการประเมินตนเอง 4.3 ช. การดูแลผู้ป่วยไตวายระยะสุดท้าย
จากแผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพ (Service Plan) สู่การพัฒนางานเภสัชกรรม
คลินิกสุขภาพเด็กดีคุณภาพ
6. การทำงานเป็นทีมระหว่างสาขา วิชาชีพ 1. การคัดกรองจำแนกประเภทผู้ป่วย ผู้ป่วยกลุ่มเสี่ยงที่อาจถูกคัดกรอง ผิดพลาด 2. การระบุตัวผู้ป่วยในกรณีต้อง เคลื่อนย้ายผู้ป่วย.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

บริบาลเภสัชกรรม รวดเร็วปลอดภัย คลินิกเด็กหัวใจสีเหลือง

Pharmacy One Stop Service

เป้าหมาย 2.ผู้ป่วยเด็กที่ได้รับยาต้านเอชไอวีมีความ 1.เภสัชกรให้บริการด้านบริบาลเภสัชกรรม แก่ผู้ป่วยเด็กที่ติดเชื้อ HIV ร้อยละ 100 2.ผู้ป่วยเด็กที่ได้รับยาต้านเอชไอวีมีความ ร่วมมือในการใช้ยามากกว่าร้อยละ 95 . ผู้ป่วยเด็กที่ได้รับยาต้านเอชไอวีมีความร่วมมือในการใช้ยามากกว่าร้อย ละ 95

ปัญหาและสาเหตุ โรงพยาบาลแพร่ คลินิกวันอังคารมีผู้ป่วยเด็ก ที่ติดเชื้อเอชไอวีจำนวน 54 คน ผู้ป่วยและผู้ดูแล ยังมีความรู้ไม่ถูกต้องเกี่ยวกับ โรค การใช้ยา ผลข้างเคียง ที่จะเกิดขึ้น และความสำคัญของการร่วมมือในการใช้ยา

กิจกรรมการพัฒนา การประเมินภาวะเด็กติดเชื้อเอชไอวี ก่อนเริ่มยาต้านเอชไอวี ร่วมกับทีมสหสาขวิชาชีพ การเตรียมความพร้อมก่อนการเริ่มยาต้านเอชไอวี การให้คำแนะนำเรื่องการใช้ยาต้านเอชไอวี ทั้งก่อนและหลัง พบแพทย์ การจ่ายยาต้านเอชไอวี ให้แก่ผู้ป่วย ณ คลินิกวันอังคาร การติดตามประเมินผลการใช้ยา การวัดผลการให้บริการ

การประเมินภาวะเด็กติดเชื้อเอชไอวีก่อนเริ่มยา ต้านเอชไอวีร่วมกับทีมสหสาขาวิชาชีพ

เตรียมฉลากยาที่จะให้บริการจ่ายยา ณ คลินิกวันอังคาร การเตรียมความพร้อมก่อนการเริ่มยาต้านเอชไอวี จัดเตรียมยาต้านเอชไอวีที่จะใช้ให้พร้อมทั้งชนิดและรูปแบบให้เหมาะสมกับเด็กแต่ละคน เตรียมฉลากยาที่จะให้บริการจ่ายยา ณ คลินิกวันอังคาร เตรียมข้อมูลประวัติผู้ป่วย ข้อมูลเกี่ยวกับยาที่จะใช้ เพื่อให้ความรู้แก่ทีมที่ให้การรักษา ผู้ดูแลและเด็ก

การให้คำแนะนำเรื่องการใช้ยาต้านเอชไอวี ทั้งก่อนและหลังพบแพทย์ การให้คำแนะนำเรื่องการใช้ยาต้านเอชไอวี ทั้งก่อนและหลังพบแพทย์ Pre-counseling ประเมินความร่วมมือในการใช้ยาต้านเอชไอวี ร่วมกับการนับเม็ดยาที่เหลือของผู้ป่วย ประเมินอาการไม่พึงประสงค์จากการใช้ยาต้านเอชไอวี ค้นหาปัญหาที่เกิดจากการใช้ยาต้านเอชไอวี บันทึกข้อมูลใน OPD card เพื่อรายงานแพทย์

Post-counseling ให้ความรู้และคำแนะนำเกี่ยวกับยาต้านเอชไอวีผู้ดูแลและเด็กในการจัดเตรียมยา แบ่งยา ดูดยา การเตือนความจำในการใช้ยา ช่วยวางแผนและจัดตารางเวลารับประทานยา ให้เหมาะสมกับกิจวัตรประจำวันของเด็ก ให้ข้อมูลเกี่ยวกับอาการไม่พึงประสงค์ ข้อควรระวังและแนวทางปฏิบัติเมื่อเกิดอาการไม่พึงประสงค์จากยาแก่ผู้ดูแลและเด็ก ให้คำแนะนำอื่นๆได้แก่ การเก็บยาที่ถูกต้อง การแบ่งยาเม็ด การปฏิบัติเมื่อลืมรับประทานยา การเตรียมตัว เมื่อเดินทางไกล การทบทวนความรู้ความเข้าใจในการใช้ยาก่อนส่งมอบยาให้แก่ผู้ป่วย

การจ่ายยาต้านเอชไอวี ให้แก่ผู้ป่วย ณ คลินิกวันอังคาร การจ่ายยาต้านเอชไอวี ให้แก่ผู้ป่วย ณ คลินิกวันอังคาร

การจ่ายยาต้านเอชไอวีให้แก่ผู้ป่วย ณ คลินิกวันอังคาร

การติดตามประเมินผลการใช้ยา บันทึกข้อมูลต่างๆที่เกี่ยวข้องกับการใช้ยาทั้งหมดของ ผู้ป่วย เพื่อติดตามผลการใช้ยาต้านเอชไอวี ความร่วมมือในการใช้ยา (Adherence) ใช้เครื่องมือประเมินคือ การนับจำนวนยา และการรายงานการกินยาโดยผู้ดูแลและผู้ป่วย ติดตามผลตรวจอาการทางคลินิก ปริมาณ CD4 และ Viral load ติดตามอาการไม่พึงประสงค์ที่เกิดจากการได้รับยาต้านเอชไอวีและ ยาอื่นที่เกี่ยวข้อง

การวัดผลการให้บริการ วัดผลของการประเมินความร่วมมือในการใช้ยาของผู้ป่วย โดย การนับจำนวนเม็ดยา เพื่อนำมาคำนวณเปอร์เซ็นต์ความร่วมมือในการใช้ยา อัตราความสม่ำเสมอในการกินยา = จำนวนครั้งที่กินยาตรงเวลา X 100 จำนวนครั้งที่กินยาทั้งหมด วัดผลการให้การบริบาลเภสัชกรรมแก่ผู้ป่วย โดยการ เก็บปัญหาที่เกิดจากการใช้ยา (DRPs) ของผู้ป่วย ที่ได้รับยาต้านในแต่ละนัดของผู้ป่วย

ผลการดำเนินงาน 1. จำนวนผู้ป่วยเด็กที่ติดเชื้อเอชไอวีที่ได้รับการบริบาลเภสัช กรรมเท่ากับร้อยละ 100 2. ผู้ป่วยที่ได้รับการบริบาลเภสัชกรรมตั้งแต่วันที่ 1 ตุลาคม 2555 ถึง 31 มกราคม 2556 ร้อยละ 84.62 มีความ ร่วมมือในการใช้ยาต้านเอชไอวีมากกว่าร้อยละ 95

ผลการดำเนินงาน 3. ผู้ป่วยขาดยาจำนวน 10 คน คิดเป็นร้อยละ 25.64 และผู้ป่วยที่ รับประทานยาไม่ตรงเวลาจำนวน 20 คน คิดเป็นร้อยละ 51.28 4. DRPs ที่เกิดจากการใช้ยาต้านเอชไอวี คือ Non-compliance 12 คน คิดเป็นร้อยละ 30.77 Dosage too high 2 คน คิดเป็นร้อยละ 5.13 Dosage too low 1 คน คิดเป็นร้อยละ 2.56 adverse drug reaction 1 คน คิดเป็นร้อยละ 2.56

กิจกรรมเยี่ยมบ้าน