ผลการพัฒนาการบันทึกข้อมูล HIV-QualT ในโรงพยาบาลระโนด จ. สงขลา. โดย นส

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
จังหวัดตราด ผลการเฝ้าระวังปี 2555.
Advertisements

ยุทธศาสตร์การพัฒนาสุขภาพ จังหวัดตรัง ปี 2555 งานควบคุมโรคติดต่อ
การทำงานเชิงรุกและการส่งต่อ
โครงการสายใยรักแห่งครอบครัว
ผลการประเมินการดำเนินงาน 46
PCT กุมารเวชกรรม รพ.เชียงรายฯ
ดูแล ด้วยใจ ห่วงใยด้วย pap โดย ลาเดือน แก้วจินดา 04/04/60.
การควบคุมวัณโรคเขตเมือง
โครงการพัฒนารูปแบบการลดทัศนคติการตีตรา/รังเกียจเด็กที่ได้รับผลกระทบจากพ่อแม่ที่ติดเชื้อและเจ็บป่วยด้วยโรคเอดส์ในโรงเรียนระดับประถมศึกษา-มัธยมศึกษาปี
หัวหน้ากลุ่มโรคเอดส์และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
โครงการพัฒนาการบริการเด็กที่มีปัญหาพัฒนาการและออทิสติก
การดูแลผู้ติดเชื้อและผู้ป่วยเอดส์ ด้วยโปรแกรม HIVQUAL-T
สรุปการวิเคราะห์ความสำเร็จและโอกาสพัฒนาในโครงการพัฒนาคุณภาพการดูแลผู้ติดเชื้อ/ผู้ป่วยเอดส์ ในภาพรวมของเขต 10 สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 10 เชียงใหม่
โรงพยาบาลท่าม่วง อำเภอท่าม่วง จังหวัดกาญจนบุรี
โรงพยาบาลทับสะแก อำเภอทับสะแก จังหวัดประจวบคีรีขันธ์
คณะทำงานการดูแลรักษาผู้ติดเชื้อผู้ป่วยเอดส์ด้วยยาต้านไวรัส
คุณภาพมาตรฐาน บริการด้วยนำใจ สิ่งแวดล้อมสดใส ห่วงใยปวงประชา
สรุปผลการดำเนินงาน โครงการพัฒนารูปแบบการดูแลรักษาผู้ติดเชื้อและ ผู้ป่วยเอดส์อย่างครอบคลุมในพื้นที่ 8 จังหวัดภาคเหนือตอนบน (TUC Care Project) ปี
Group Learning HIVQUAL-T Forum
สรุปการวิเคราะห์ความสำเร็จและ โอกาส พัฒนาในโครงการพัฒนา คุณภาพการดูแลผู้ติดเชื้อ ผู้ป่วยเอดส์ในภาพรวมของเขต สำนักงานป้องกันควบคุม โรคที่ 4 จ. ราชบุรี
Best Practice โรงพยาบาลสมเด็จพระญาณสังวร จังหวัดเชียงราย
สถานการณ์เอดส์ เด็ก 28 ราย ผู้ติดเชื้อและผู้ป่วยเอดส์สะสม ทั้งจังหวัด
การคัดกรองมะเร็งปากมดลูกในหญิงติดเชื้อ : ประสบการณ์โรงพยาบาลแม่ลาว Mae Lao hospital, Chiang Rai province, Thailand สุทธินีพรหมใจษา วราลักษ์ รัตนธรรม สุภาพรตันสุวรรณ.
การบูรณาการงาน HIV CARE สู่งานพัฒนาคุณภาพ
โรงพยาบาลชัยภูมิ จังหวัดชัยภูมิ
โรงพยาบาลทับสะแก อ.ทับสะแก จ.ประจวบคีรีขันธ์ ขนาด 60 เตียง
การจัดการระบบการดูแลรักษา โดยผู้ประสานงานในโรงพยาบาลห้วยพลู
การติดตามการตรวจ CD4 ใน Asymtomatic patient (CD4 award)
การส่งเสริมวินัยการกินยาต้านไวรัสเอดส์
บทเรียน.. การดำเนินงานพัฒนาคุณภาพบริการ ด้วยรูปแบบ HIVQAUL-T ในเขต 13
25/07/2006.
การพัฒนาคุณภาพบริการ การดูแลผู้ติดเชื้อเอชไอวีและผู้ป่วยเอดส์
ภาพรวม/บทเรียนการดำเนินงานพัฒนาคุณภาพฯ HIVQUAL-T ของ รพ.ครู ก.
1. ชื่อผลงาน: ส่งเสริมการเข้าถึงบริการอย่างเป็นมิตร
การพัฒนาคุณภาพด้านการดูแลรักษาผู้ติดเชื้อและผู้ป่วยเอดส์ ( CQI Story)
การพัฒนางานคุณภาพงานเอดส์
โครงการเพื่อนช่วยเพื่อน กลุ่มดอกไม้งาม อ.มวกเหล็ก จ.สระบุรี
การพัฒนาระบบการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก
สถานการณ์และการดำเนินงานดูแลเด็กติดเชื้อเอชไอวี
การดูแล ผู้ติดเชื้อ / ผู้ป่วยเอดส์ ตำแหน่ง พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
ระบบบริการดี ตรวจซีดีโฟร์ ครบตามมาตรฐาน
ผลการเฝ้าระวัง และป้องกันความล้มเหลวในการรักษาในโรงพยาบาลระโนด จ. สงขลา โดย นส.จาฤดี กองผล, นางละมัย ช่วยแดง พยาบาลประจำคลินิกยาต้านไวรัสโรงพยาบาลระโนด.
บริบาลเภสัชกรรม รวดเร็วปลอดภัย คลินิกเด็กหัวใจสีเหลือง.
โครงการ/กิจกรรมสำคัญในปี 2557 สิ่งที่ CUP/อำเภอดำเนินการ
จากก้าวแรก EWI สู่การพัฒนางาน
ทิศทางอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน ปี 2556
วัตถุประสงค์ การส่งสริมสุขภาพป้องกัน และเฝ้าระวังโรค
ความคาดหวังกับรพ.สต.มิติใหม่ของการพัฒนางานสาธารณสุข
คลินิกผู้สูงอายุต้นแบบ (Geriatric Clinic Model) โรงพยาบาลอุดรธานี
การพัฒนากิจกรรมเพื่อการป้องกันการเกิดเชื้อเอชไอวีดื้อยา
โรงพยาบาลสุรินทร์ จังหวัดสุรินทร์
บทเรียนจากการเก็บข้อมูลภาคสนามเพื่อการติดตามตาม HIVDR-EWI
การตรวจเลือดเอชไอวี แบบทราบผลในวันเดียว
ตามเกณฑ์มาตรฐานโรงพยาบาลและบริการสุขภาพ
พัฒนาการสื่อสารงานผู้ป่วยใน โรงพยาบาลบ้านเขว้า
:: Pitfall : การบริหารการพยาบาล ::
การเฝ้าระวังโรคและภัยสุขภาพ
สรุปการประชุมกลุ่มย่อยที่ 1
นิยาม ศูนย์ให้คำปรึกษาคุณภาพ (Psychosocial Clinic) หน่วยบริการระดับโรงพยาบาลชุมชนที่มีการจัดบริการดูแล ช่วยเหลือทางสังคมจิตใจทุกกลุ่มวัย โดยมีองค์ประกอบ.
สรุปผลการประเมิน ยุทธศาสตร์สุขภาพระดับตำบล อำเภอเรณูนคร ปี 2554
การจัดบริการสร้างเสริมสุขภาพ และป้องกันการติดเชื้อเอชไอวี
สาขาโรคมะเร็ง.
1111 การขับเคลื่อน สู่ เป้าหมายกรม ควบคุมโรค ประจำปีงบประมาณ พ. ศ ดร. นายแพทย์พรเทพ ศิริวนา รังสรรค์ อธิบดีกรมควบคุมโรค 17 พฤษภาคม 2555.
ยุทธศาสตร์ที่ 1 พัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ เพื่อลดโรคและภัยสุขภาพ รอบ 5 เดือน ( ตุลาคม กุมภาพันธ์ 2554 )
และแนวทางการตรวจราชการ คณะที่ 1 : การพัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย
นวัตกรรม7สี ปันรัก ไกลโรค ปี2556
งานผู้ป่วยใน โรงพยาบาลบ้านเขว้า
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ผลการพัฒนาการบันทึกข้อมูล HIV-QualT ในโรงพยาบาลระโนด จ. สงขลา. โดย นส ผลการพัฒนาการบันทึกข้อมูล HIV-QualT ในโรงพยาบาลระโนด จ.สงขลา โดย นส.จาฤดี กองผล, นางสุพร ยุรพันธ์ พยาบาลวิชาชีพคลินิกยาต้านไวรัส โรงพยาบาลระโนด จ.สงขลา บริบท โรงพยาบาลระโนด จ.สงขลา เข้าร่วมโครงการดูแลผู้ติดเชื้อเอชไอวี/ ผู้ป่วยเอดส์ตามแบบประเมินงาน HIV-QualT ตั้งแต่ปี 2549 จนถึงปัจจุบัน มีความมุ่งมั่นที่จะจัดบริการที่มีคุณภาพ พัฒนาการดูแลและการบันทึกงานตามตัวชี้วัด HIV-QualT เรื่อยมา จากการวิเคราะห์งานปี 2554 พบว่าถึงแม้คลินิกยาต้านไวรัสโรงพยาบาลระโนดได้ให้บริการดูแลผู้ติดเชื้อเอชไอวีและผู้ป่วยเอดส์ตามมาตรฐาน ภายใต้คู่มือการดูแลผู้ติดเชื้อเอชไอวี/ผู้ป่วยเอดส์ปี 2551 กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุขก็ตามแต่การบันทึกข้อมูล HIV-QualT ยังไม่ครบถ้วน เนื่องจากแบบบันทึกยังไม่สะดวกต่อการใช้งาน ผู้บันทึกเองยังบันทึกไม่ครอบคลุม ร่วมทั้งผู้รับบริการที่มีจำนวนมากขึ้นจาก 209, 260 และ 276 ในปี 2553 ถึงปี 2555 ตามลำดับ ทีมงานยาต้านไวรัสโรงพยาบาลระโนด ได้สร้างแบบบันทึกงาน HIV-QualT ที่ครบทั้ง 11 ตัวชี้วัดใน OPD Card ในปี 2555 ขึ้นซึ่งเป็นการแก้ปัญหาเรื่องขาดการบันทึกที่ครบถ้วนได้ รวมทั้งชี้แจงผู้ปฏิบัติช่วยให้ทีมผู้ให้บริการสามารถวางแผนในการให้บริการได้ดีขึ้น และง่ายต่อการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินผลปลายปีอันจะเป็นประโยชน์สูงสุดแก่ผู้รับบริการและผู้ปฏิบัติงาน

ประเด็นคุณภาพ/ ความเสี่ยงที่สำคัญ ขาดแบบบันทึกข้อมูลงาน HIV-QualT ง่ายและสะดวกต่อการใช้งาน ทีมผู้ให้บริการไม่ได้ปฏิบัติตามแนวทางการปฏิบัติงานที่กำหนด ทีมผู้ให้บริการขาดการวางแผนการดูแลผู้ป่วยตามมาตรฐานงาน HIV-QualT ขาดการบันทึกการดูแลผู้ป่วยตามมาตรฐานงาน HIV-QualT

วัตถุประสงค์ ทีมผู้ให้บริการบันทึกการดูแลผู้ป่วยตามมาตรฐานงาน HIV-QualT ในแบบบันทึกร้อยละ 100 ทีมผู้ให้บริการดูแลและบันทึกตามมาตรฐานงาน HIV-QualT ครบถ้วนทั้ง 11 ตัวชี้วัดในแบบบันทึกร้อยละ 80

ระยะเวลาในการดำเนินงาน 1 ต.ค.2554- 30 กันยายน 2555

วิธีดำเนินการ 1. ประชุมทีมงานคลินิกยาต้านเพื่อชี้แจงการดำเนินงานภายใต้มาตรฐาน งาน HIV-QualT 2. พัฒนาแบบบันทึกงาน HIV-QualT และส่งผู้เชี่ยวชาญภายในคลินิกตรวจสอบและทำการแก้ไข 3. ทดลองใช้และปรับปรุงแบบบันทึกการดูแลผู้ป่วยตามมาตรฐานงาน HIV-QualT 4. ประกาศใช้แบบบันทึกงาน HIV-QualT ให้ผู้เกี่ยวข้องทราบและปฏิบัติตาม 5. ประเมินผลงานและการใช้งานแบบบันทึกการดูแลผู้ป่วยตามมาตรฐานงาน HIV-QualT

ผลการดำเนินงาน 1. ใช้แบบบันทึกการดูแลผู้ป่วยตามมาตรฐานงาน HIV-QualT ร้อยละ 100 2. ทีมผู้ให้บริการดูแลและบันทึกตามมาตรฐานงาน HIV-QualT ครบถ้วนทั้ง 11 ตัวชี้วัดร้อยละ 100

ผลการดำเนินงาน HIV-QualT ปี 2554-2555 ตัวชี้วัด เป้าหมาย ผลงานปี 2554 ผลงานปี 2555 1. การตรวจ CD4 ผู้ป่วยรายใหม่ ร้อยละ 90 82.61 95.71 2. การตรวจซิฟิลิสในผู้ป่วยรายใหม่ 56.52 100 3. การรับยาต้านไวรัสในผู้ที่มีข้อบ่งชี้ 4. การป้องกันโรค PCP 5. การป้องกัน MAC 6. การประเมิน Adherence 92.77 94.12

ผลการประเมินคุณภาพงาน HIV-QualT ปี 2554-2555 ตัวชี้วัด เป้าหมาย ผลงานปี 2554 ผลงานปี 2555 7. การคัดกรองวัณโรค ร้อยละ 90 80.49 100 8. การติดตามระดับ CD4ทุก 6 เดือน ร้อยละ 80 32.53 76.47 9. การให้ข้อมูลเรื่องการมีเพศสัมพันธ์ที่ปลอดภัย 91.95 10. การติดตามระดับ VL ทุกปี 90.36 97.32 11. การคัดกรองมะเร็งปากมดลูก 6.67 84.40

แผนการพัฒนาต่อเนื่อง พัฒนาศักยภาพบุคลากรในการดูแลผู้ป่วยตามมาตรฐานงาน HIV-QualT โดยการอบรมความรู้การดูแลผู้ติดเชื้อเอชไอวี/ ผู้ป่วยเอดส์ระดับชาติปี 2553 และการดูแลผู้ป่วยตามมาตรฐานงาน HIV-QualT ประเมินสมรรถนะผู้ปฏิบัติงานดูแลผู้ติดเชื้อเอชไอวี/ ผู้ป่วยเอดส์ พัฒนาระบบการประเมินผลและการติดตามงาน ARV ประเมินผลการดูแลผู้ป่วยตามมาตรฐานงาน HIV-QualT ปี 2556 ทุก 6 ,12 เดือนและวิเคราะห์งานเชิงคุณภาพ เขียนโครงการพัฒนางานตามปัญหาตัวชี้วัด ศึกษาความพึงพอใจผู้ปฏิบัติงาน