การพัฒนาคุณภาพด้านการดูแลรักษาผู้ติดเชื้อและผู้ป่วยเอดส์ ( CQI Story)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
จังหวัดตราด ผลการเฝ้าระวังปี 2555.
Advertisements

เป้าหมาย เพื่อประสบผลสำเร็จในการลดผู้ติดเชื้อเอ็ชไอวีรายใหม่โดยการบูรณา การยุทธศาสตร์และการปฏิบัติการระหว่างองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น จังหวัด และส่วนกลางที่ครอบคลุมเยาวชนอายุ
การดำเนินงานด้านอนามัยการเจริญพันธุ์
ยุทธศาสตร์การพัฒนาสุขภาพ จังหวัดตรัง ปี 2555 งานควบคุมโรคติดต่อ
เอชไอวีควบคุมได้ เอดส์รักษาได้ เราอยู่ด้วยกันได้
การทำงานเชิงรุกและการส่งต่อ
พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ รพ.แหลมสิงห์ จังหวัดจันทบุรี
สถานการณ์/สภาพปัญหาวัยรุ่น
รู้จักกัน ผ่านชื่อย่อ
การส่งเสริมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ ในทัณฑสถานหญิงจังหวัดเชียงใหม่
โครงการสายใยรักแห่งครอบครัว
อนามัยการเจริญพันธุ์ในวัยรุ่น จังหวัดจันทบุรี
การพัฒนางาน อนามัยแม่และเด็ก ทิศทางก้าวไกล สู่ คุณภาพ มาตรฐาน และ ความปลอดภัย นพ.สมชาย เชื้อเพชระโสภณ ผู้ตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุขเขต.
การให้การปรึกษาทางพันธุศาสตร์ ธาลัสซีเมีย
ดูแล ด้วยใจ ห่วงใยด้วย pap โดย ลาเดือน แก้วจินดา 04/04/60.
โครงการพัฒนารูปแบบการลดทัศนคติการตีตรา/รังเกียจเด็กที่ได้รับผลกระทบจากพ่อแม่ที่ติดเชื้อและเจ็บป่วยด้วยโรคเอดส์ในโรงเรียนระดับประถมศึกษา-มัธยมศึกษาปี
หัวหน้ากลุ่มโรคเอดส์และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
การบริหาร ยุทธศาสตร์บูรณา การการป้องกันและ แก้ไขปัญหาเอดส์ ระดับจังหวัด กลุ่มผู้ติดเชื้อ เอชไอวี
นโยบาย/แนวทางการดำเนินงาน และกลุ่มหญิงตั้งครรภ์
ปัญหา เอดส์และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
นโยบายการป้องกัน การถ่ายทอดเชื้อเอชไอวีจากแม่สู่ลูก สำหรับประเทศไทย พ
ระบบการส่งต่อผู้ป่วย จังหวัดตราด
การดูแลผู้ติดเชื้อและผู้ป่วยเอดส์ ด้วยโปรแกรม HIVQUAL-T
โรงพยาบาลทับสะแก อำเภอทับสะแก จังหวัดประจวบคีรีขันธ์
คุณภาพมาตรฐาน บริการด้วยนำใจ สิ่งแวดล้อมสดใส ห่วงใยปวงประชา
โครงการพัฒนาคุณภาพการดูแลรักษา ผู้ติดเชื้อ/ผู้ป่วยเอดส์
Best Practice โรงพยาบาลสมเด็จพระญาณสังวร จังหวัดเชียงราย
สถานการณ์เอดส์ เด็ก 28 ราย ผู้ติดเชื้อและผู้ป่วยเอดส์สะสม ทั้งจังหวัด
โรงพยาบาลสิรินธร สำนักการแพทย์ กรุงเทพมหานคร
โรงพยาบาลทับสะแก อ.ทับสะแก จ.ประจวบคีรีขันธ์ ขนาด 60 เตียง
การใช้ข้อมูลจากโปรแกรม NAP
แนวทางการสนับสนุนการจัดบริการป้องกัน เพื่อส่งเสริมสุขภาพ สำหรับกลุ่มผู้ติดเชื้อเอชไอวีและผู้ป่วยเอดส์ นายแพทย์สรกิจ ภาคีชีพ ผู้จัดการ กองทุนเพื่อบริการผู้ติดเชื้อเอชไอวี
การส่งเสริมวินัยการกินยาต้านไวรัสเอดส์
การพัฒนาคุณภาพบริการ การดูแลผู้ติดเชื้อเอชไอวีและผู้ป่วยเอดส์
เล่าเรื่องที่ประทับใจ
การส่งเสริมผู้ติดเชื้อ / ผู้ป่วยเอดส์รายใหม่เข้าสู่ระบบการดูแลรักษา
1. ชื่อผลงาน: ส่งเสริมการเข้าถึงบริการอย่างเป็นมิตร
การพัฒนางานคุณภาพงานเอดส์
โครงการเพื่อนช่วยเพื่อน กลุ่มดอกไม้งาม อ.มวกเหล็ก จ.สระบุรี
การพัฒนาระบบการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก
สถานการณ์และการดำเนินงานดูแลเด็กติดเชื้อเอชไอวี
การดูแล ผู้ติดเชื้อ / ผู้ป่วยเอดส์ ตำแหน่ง พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
โรงพยาบาลทุ่งสง นครศรีธรรมราช
ผลการพัฒนาการบันทึกข้อมูล HIV-QualT ในโรงพยาบาลระโนด จ. สงขลา. โดย นส
ระบบบริการดี ตรวจซีดีโฟร์ ครบตามมาตรฐาน
การให้คำปรึกษาแบบเข้มข้น
ผลการเฝ้าระวัง และป้องกันความล้มเหลวในการรักษาในโรงพยาบาลระโนด จ. สงขลา โดย นส.จาฤดี กองผล, นางละมัย ช่วยแดง พยาบาลประจำคลินิกยาต้านไวรัสโรงพยาบาลระโนด.
ผลการดำเนินงานที่ผ่าน มาของโรงพยาบาล ปัตตานี. แรงงานข้ามชาติ พนักงานบริการ ประชาชนทั่วไป ชายรักชาย กลุ่มเป้าหมาย.
นโยบายการป้องกัน การถ่ายทอดเชื้อเอชไอวีจากแม่สู่ลูก สำหรับประเทศไทย พ
แนวทางการดำเนินงาน ส่งเสริม ป้องกันและควบคุมโรคธาลัสซีเมีย
สรุปบทเรียนโครงการแก้ไขปัญหาทารกแรกเกิดน้ำหนักน้อยกว่า 2,500 กรัม
นโยบายการป้องกัน การถ่ายทอดเชื้อเอชไอวีจากแม่สู่ลูก สำหรับประเทศไทย พ
คลินิกผู้สูงอายุต้นแบบ (Geriatric Clinic Model) โรงพยาบาลอุดรธานี
สรุปบทเรียนโครงการเอดส์ ด้าน CARE
การดำเนินงาน ด้านเอดส์ในแม่และเด็ก
นางวิมล นวลมี พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
การให้การปรึกษาในการตรวจเอชไอวี แบบฟังผลในวันเดียว Counseling with Same Day HIV Testing 12 July 2011.
การตรวจเลือดเอชไอวี แบบทราบผลในวันเดียว
นางวิมล นวลมี พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
โรงพยาบาลจิตเวชขอนแก่นราชนครินทร์
สรุปการประชุมกลุ่มย่อยที่ 1
การพัฒนางานวิกฤตสุขภาพจิต ปีงบประมาณ 2558
การพัฒนางานสุขภาพจิต วัยทำงาน - สูงอายุ
การจัดบริการสร้างเสริมสุขภาพ และป้องกันการติดเชื้อเอชไอวี
ตัวอย่างกิจกรรมภายใต้บทบาทของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
SAR2011 ข้อ III 4.3 ฉ : การฟื้นฟูสภาพ
การป้องกัน การเสริมสร้างบทบาทองค์ ความรู้แก่ผู้นำทาง ความคิดของเด็กและ เยาวชน การพัฒนาความร่วมมือ ของ ภาคีเครือข่าย การขจัดสิ่งยั่วยุและ อิทธิพลจากสื่อ.
การดำเนินงาน PMTCT (การป้องกันการถ่ายทอดเชื้อเอชไอวีจากแม่สู่ลูก)
โรงพยาบาลสายใยรักแห่งครอบครัว
ศูนย์พึ่งได้ เด็กที่ได้รับ ผลกระทบจาก เอดส์ เด็กเปราะบาง เด็กที่ติดเชื้อ เอชไอวี
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การพัฒนาคุณภาพด้านการดูแลรักษาผู้ติดเชื้อและผู้ป่วยเอดส์ ( CQI Story) โครงการ ..ป้องกันการติดเชื้อ เอชไอวี ในคู่ผลเลือดต่าง ของ โรงพยาบาลแม่ใจ จังหวัดพะเยา โดย นางอุไรวรรณ แฝงทรัพย์ พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ

ปัญหาและสาเหตุโดยย่อ ผู้ติดเชื้อเอชไอวี ที่ขึ้นทะเบียนรักษาของ โรงพยาบาลแม่ใจ ร้อยละ 100 ติดเชื้อเอชไอวีจากการมีเพศสัมพันธ์ที่ไม่ได้ป้องกัน ในปี 2552 มีแกนนำผู้ติดเชื้อ ที่เป็นอาสาสมัครศูนย์องค์รวมของโรงพยาบาล ตรวจพบเชื้อรายใหม่ ซึ่งเดิมเป็นผู้ได้รับผลกระทบจากเอดส์ โดยสามีเสียชีวิตจากเอดส์ แต่อาสาสมัคร ตรวจไม่พบเชื้อ มีการแต่งงานใหม่ กับชายที่ภรรยาเสียชีวิตจากเอดส์ ได้ให้การปรึกษาแบบคู่และตัดสินใจตรวจหาเอชไอวีก่อนแต่งงาน ไม่พบเชื้อทั้งคู่ แนะนำให้ตรวจซ้ำ อีก 3 เดือน และช่วงระยะฟักตัวนี้ให้ใช้ถุงยางอนามัยทุกครั้ง แต่สามีไม่ตรวจซ้ำและไม่ใช้ถุงยางอนามัยเลย จากทัศนคติของการใช้ถุงยางอนามัยว่าจะใช้กับพนักงานบริการหญิงเท่านั้น ไม่ใช้กับภรรยา จึงส่งผลให้ภรรยาติดเชื้อ ทั้งๆที่ตรวจยืนยันผลทุก 6 เดือนเป็นเวลา 2 ปี ไม่พบเชื้อ จึงทำให้โรงพยาบาลแม่ใจ ได้พัฒนาระบบการป้องกันการติดเชื้อในคู่ผลเลือดต่างขึ้น

เป้าหมาย *อัตราการตรวจเลือดหาการติดเชื้อเอชไอวีในคู่ผลเลือดต่างอย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง มากกว่า ร้อยละ 80 *อัตราการติดเชื้อจากคู่ผลเลือดต่างที่เข้าร่วมกิจกรรม น้อยกว่า ร้อยละ 5

การดำเนินงาน ประชุมคณะทำงานถึงแนวทางการดำเนินงาน เพื่อการส่งเสริมการมีเพศสัมพันธ์ที่ปลอดภัยและการเปิดเผยสถานะการติดเชื้อเอชไอวีให้กับคู่โดยสมัครใจ รวมถึงการค้นหาคู่ที่มีผลเลือดต่าง โดย การสัมภาษณ์ Positive prevention

การดำเนินงาน การให้ชุดข้อมูลแบบสั้น (SMS) การมีเพศสัมพันธ์ในช่วง 3 เดือนที่ผ่านมา การใช้ถุงยางอนามัย การวางแผนครอบครัว การมีคู่ครองใหม่ การเปิดเผยสถานการณ์ติดเชื้อฯ การแนะนำให้พาคู่มาตรวจเลือด การทำกิจกรรมกลุ่มในวันรับยาต้านไวรัสเอดส์ ผนวกบริการชุดข้อมูลในคลินิกนิรนาม การค้นหาคู่ที่มีผลเลือดต่าง พัฒนาระบบ VCT ในทุกจุดบริการที่มีผู้ใช้บริการ ตั้งแต่ รพ.สต. คลินิกฝากครรภ์ ห้องปฏิบัติการ ตึกผู้ป่วยใน ห้องคลอด ตึกผู้ป่วยนอก เพื่อเพิ่มการเข้าถึงบริการการตรวจเลือดหาการติดเชื้อเอชไอวีโดยสมัครใจ การให้การปรึกษารายบุคคล กรณี ที่ไม่เปิดเผยผลเลือด (Discloser Csg.) การให้การปรึกษาแบบคู่( Couple Csg.) จัดเก็บข้อมูลและวิเคราะห์ข้อมูล

การวัดผลและผลของการเปลี่ยนแปลง จำนวนคู่ผลเลือดต่าง จำนวนมาตรวจเลือดซ้ำในปี ร้อยละ ผลเลือดNegative ผลเลือด positive ปี 2552 50 คู่ 45 90 42 93.3 3 6.7 ปี 2553 56 คู่ 80 40 88.89 5 11 ปี 2554 53 คู่ 37 69.83 100 ปี 2555 58 คู่ 47 81

สรุปผลงานโดยย่อ.. การป้องกันการติดเชื้อเอชไอวีจากคู่ผลเลือดต่าง จำเป็นต้องให้คู่เพศสัมพันธ์รู้สถานะการติดเชื้อของตนเองและคู่ของตน รวมถึงมีส่วนร่วมในการวางแผนการใช้ชีวิตคู่ร่วมกัน จึงจะส่งผลให้มีการตรวจเลือดหาการติดเชื้อเป็นระยะ ๆ และการใช้ถุงยางอนามัย 100 % โรงพยาบาลแม่ใจจึงจัดบริการ การให้ชุดข้อมูลแบบสั้น กระชับ (SMS) ด้านการป้องกันเพื่อส่งเสริมสุขภาพแก่ผู้ใช้บริการในคลินิกนิรนามและคลินิกARV รวมถึงการใช้กระบวนการกลุ่ม ส่งผลให้ผู้ใช้บริการตระหนักถึงปัญหา และพาคู่ของตนมาขอรับการปรึกษาเป็นคู่ ( Couple Csg.) ตรวจเลือดหาการติดเชื้อซ้ำทุก 1 ปี บางรายไม่มั่นใจในการแจ้งผลเลือดแก่คู่ มีการให้การปรึกษาเพื่อเปิดเผยผลเลือดแก่คู่ (Discloser Csg.)

บทเรียนที่ได้รับ 1.จากการทำกิจกรรมกลุ่มสัมพันธ์ ทำให้ทราบถึงปัจจัยที่ส่งผลต่อการป้องกันการติดเชื้อเอชไอวีในคู่ผลเลือดต่าง คือ * ชายเป็นผู้มีอำนาจด้านเพศ * ทัศนคติของการใช้ถุงยางอนามัย * หญิงไม่สามารถต่อรองด้านเพศได้ *เรื่องเพศ เป็นเรื่องละเอียดอ่อนต้องใช้เวลาและฝึกปฏิบัติในการสื่อสาร ทั้งส่วนผู้ให้บริการ กับผู้ใช้บริการ และ ผู้ใช้บริการกับคู่เพศสัมพันธ์ของตนเอง * ต้องคุยบ่อยๆ ทุกครั้งที่มารับบริการ แบบเป็นธรรมชาติ คล้ายกับถามว่ากินข้าวกับอะไรจะทำให้ผู้ใช้บริการจะรู้สึกว่าเป็นเรื่องธรรมดา 2. คู่ที่ได้รับการปรึกษาแบบคู่ตั้งแต่แรก จะส่งผลให้มีการใช้ถุงยางอนามัย 100% รวมถึงมีการตรวจเลือดหาการติดเชื้อเอชไอวี ทุก 6 เดือนและยังคงสถานะของผลเลือดเป็นลบ

ข้อเสนอแนะ หากมีการพัฒนาระบบ VCT เพิ่มการให้บริการแบบคู่ จะส่งผลให้ครอบครัวมีการวางแผนการใช้ชีวิตร่วมกันในทุกด้าน รวมทั้ง การมีเพศสัมพันธ์ที่ปลอดภัยและรับผิดชอบ