1. ชื่อผลงาน: ส่งเสริมการเข้าถึงบริการอย่างเป็นมิตร 1. ชื่อผลงาน: ส่งเสริมการเข้าถึงบริการอย่างเป็นมิตร องค์กรต้นสังกัด: โรงพยาบาลมะการักษ์ จังหวัดกาญจนบุรี 2. คำสำคัญ: การเข้าถึงการรักษา อย่างเป็นมิตร 1
บริบทของรพ.มะการักษ์ ศูนย์กลางการดูแลที่ แผนกผู้ป่วยนอก โดยยึดผู้ป่วยเป็นศูนย์กลาง ผู้ใหญ่ หญิงตั้งครรภ์และสามี ให้การดูแลใน-นอกคลินิก นอกคลินิก ในเวลาราชการ คัดกรองร่วมกับผู้ป่วยทั่วไป ใช้คำพูดที่ผู้ป่วยอื่นไม่ทราบว่าติดเชื้อเอชไอวี ให้ผู้ป่วยประเมินผลเลือด CD4 VL อื่นๆ นอกเวลาราชการ คัดกรองร่วมกับผู้ป่วยทั่วไป ให้ผู้ป่วยประเมินผลการดูแลตนเองจากผล Lab
บริบทของรพ.มะการักษ์ กลยุทธ์ในการดำเนินงาน ยึดผู้ป่วยเป็นศูนย์กลาง เช่นเวลานัด ความเป็นส่วนตัวปกปิด เมื่อคัดกรองที่OPDพบผู้ป่วยมีภาวะเสี่ยง VCT ทุกราย VCT ในกลุ่มติดสารเสพติด สอนการใส่ถุงยาง โรคSTI.: ค่ายยาเสพติดฯ กลุ่มบำบัดยาเสพติดแบบผู้ป่วยนอก ยาเสพติดเช่น ยาบ้า ฝิ่น ทั้งกินและฉีด VCT ในกลุ่ม STI ติดตามตรวจเลือด สอนการใส่ถุงยาง
สภาพปัญหา ด้านผู้ป่วย ปกปิดผลเลือด /รับยาแทน /ต้องทำงาน/ต้องเรียน ด้านผู้ป่วย ปกปิดผลเลือด /รับยาแทน /ต้องทำงาน/ต้องเรียน ด้านผู้ให้บริการ ภาระงานเพิ่ม(ผู้ป่วย ระบบข้อมูลต่างๆ) คนรับผิดชอบ(ผู้ปฎิบัติงาน) โดยตรงเท่าเดิม ทีม 5 ด้าน ทำงานเฉพาะวันที่มีคลินิก เมื่อผู้ป่วยนอนรพ. รับยาที่OPD เจาะเลือดตามนัด ผู้บริหาร มีความเห็นในเนื้องานเอดส์เช่นที่ผ่านมา แผนงาน+นโยบาย ที่ปรับเปลี่ยนตามสมัย ตรวจสอบได้ เพิ่มตัวชี้วัด
เป้าหมายในการทำงาน Getting To Zero ค้นหาผู้ป่วยเอชไอวีรายใหม่ ผู้ป่วยรับยาต้านไม่ดื้อยา ไม่ขาดการักษา กลับไปประกอบอาชีพ ศึกษาต่อได้ ลดการติดเชื้อเอชไอวีและลดการแพร่เชื้อในกลุ่มประชากรที่มีภาวะเสี่ยงสูง
กิจกรรมค้นหากลุ่มเสี่ยง ที่ OPD ประเมินภาวะเสี่ยงในกลุ่มเสี่ยง และ VCT ทำงานเชิงรุก โดยให้ความรู้เรื่อง STI สอนการใส่ถุงยาง กิจกรรมเสริมทักษะชีวิต ในกลุ่มยาเสพติด แรงงานข้ามชาติ เด็กวัยรุ่นในโรงเรียน หญิง-ชายในสถานบริการแบบตรงและแฝง โรงงานอุตสาหกรรม เพิ่มช่องทางการเข้าถึง การส่งต่อ ให้ผู้มีความเชี่ยวชาญให้คำแนะนำปรึกษา พบแพทย์ ทำงานเชิงรุก พร้อมให้ประเมินภาวะเสี่ยง เจาะเลือด และแจ้งผล ในโรงงานอุตสาหกรรมและ ค่ายบำบัดยาเสพติด
ภาพรวมในการดำเนินงาน เป้าหมาย: ทำงานที่OPD พบผู้เกี่ยวข้องเช่น เด็กร้านอาหาร เจ้าของกิจการ MSM จะทำช่องทางด่วนในการเข้าถึงการรักษา VCT แจกถุงยาง ให้เบอร์โทร ช่องทางประสานงาน แนวทางพัฒนา/การเปลี่ยนแปลง: 1. กลุ่มเสี่ยง มักปกปิด ไม่กล้าเข้าโรงพยาบาล เพื่อการรักษา และไม่ทราบว่าโรงพยาบาลให้ตรวจเลือดฟรี 2. ใช้วิธี เพื่อนชวนเพื่อน ในกลุ่มเสี่ยง ให้บอกต่อและสร้างความเข้าใจ แนะนำเพื่อนที่ป่วยเข้ามารพ. 3. ให้คำแนะนำเรื่องสิทธ์ ในการรักษา อำนวยความสะดวกในเรื่องต่างๆ
5.สาระสำคัญของการพัฒนา(Improvement Highlight) Intervention: สิ่งที่เราคิดและทำลงไป ส่วนใหญ่จะเป็นกรอบแนวคิด และกิจกรรมพัฒนาที่ทำ ขอให้มีรูปประกอบ หรือเขียนละเอียดเกี่ยวกับสิ่งที่ทำให้เห็นภาพชัดเจน
6. ผลลัพธ์ การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นในรอบปี 2555 VCT ตรวจเลือด 2,236 ราย พบ HIV positive 80 ราย คิดเป็น 3.58 % พบ HIV negative 2,158 ราย คิดเป็น 96.42 % คลินิกยาต้านไวรัส อัตราการขาดการรักษา ปี 54 คิดเป็น 3.35 % อัตราการขาดการรักษา ปี 55 คิดเป็น 3.23 % ข้อมูลจาก NAP
7.บทเรียนเพื่อการแบ่งปัน สิ่งที่พบ ความอดทนต่อความกดดันจากทีมงานที่อยู่เหนือกว่าและต่ำกว่าที่พบว่าขาดความรู้ ขาดความเข้าใจ และทัศนคติที่ไม่ถูกต้องในการดูแลผู้ป่วยกลุ่มนี้ ความสำเร็จของงาน ไม่ได้ขึ้นกับองค์กรทั้งภาครัฐ และเอกชน แต่ขึ้นกับตัวกลุ่มเสี่ยง ที่กล้าเข้ามารักษา และทราบว่ามีผู้เข้าใจ อำนวยความสะดวก สนองความต้องการ เช่นต้องการตรวจเลือดฟรี รักษา STI ฟรี และอาการเจ็บป่วยดีขึ้น และบอกต่อถึงความรู้เรื่องโรค การรักษาและการป้องกันที่ถูกต้อง
8. สิ่งที่อยากฝากไว้ให้คนอื่นรู้ กิจกรรม ที่สามารถดำเนินได้ ขึ้นกับการประสานงานภายในและภายนอกหน่วยงาน เพื่อเชื่อมการดูแล ในช่วงนอกเวลาราชการ ช่องทางการประสานงานที่ชัดเจน ความรู้ที่ถูกต้อง และคำแนะนำที่ชัดเจนกับทีมงานได้