สถานการณ์เอดส์ เด็ก 28 ราย ผู้ติดเชื้อและผู้ป่วยเอดส์สะสม ทั้งจังหวัด

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
จังหวัดตราด ผลการเฝ้าระวังปี 2555.
Advertisements

เป้าหมาย เพื่อประสบผลสำเร็จในการลดผู้ติดเชื้อเอ็ชไอวีรายใหม่โดยการบูรณา การยุทธศาสตร์และการปฏิบัติการระหว่างองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น จังหวัด และส่วนกลางที่ครอบคลุมเยาวชนอายุ
ยุทธศาสตร์การพัฒนาสุขภาพ จังหวัดตรัง ปี 2555 งานควบคุมโรคติดต่อ
การทำงานเชิงรุกและการส่งต่อ
การอบรม อสม. รุ่น 2 เป้าหมาย อสม.รุ่น 1 - อสมช. ด้านโรคความดันโลหิตสูง
สรุปแผน/ผลการปฏิบัติงาน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ
การดำเนินงานเพื่อลดปัจจัยเสี่ยง ในเด็กวัยเรียนและเยาวชน
บทบาท “ Six Key Function” ในจังหวัดภาคกลางตะวันตก
ดูแล ด้วยใจ ห่วงใยด้วย pap โดย ลาเดือน แก้วจินดา 04/04/60.
ประชุมเพื่อประสานแผน การทำงาน การกำหนดเป้าหมาย และการติดตามกำกับงาน
การบริหาร ยุทธศาสตร์บูรณา การการป้องกันและ แก้ไขปัญหาเอดส์ ระดับจังหวัด กลุ่มผู้ติดเชื้อ เอชไอวี
การดูแลผู้ติดเชื้อและผู้ป่วยเอดส์ ด้วยโปรแกรม HIVQUAL-T
สรุปการวิเคราะห์ความสำเร็จและโอกาสพัฒนาในโครงการพัฒนาคุณภาพการดูแลผู้ติดเชื้อ/ผู้ป่วยเอดส์ ในภาพรวมของเขต 10 สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 10 เชียงใหม่
โรงพยาบาลท่าม่วง อำเภอท่าม่วง จังหวัดกาญจนบุรี
โรงพยาบาลทับสะแก อำเภอทับสะแก จังหวัดประจวบคีรีขันธ์
คณะทำงานการดูแลรักษาผู้ติดเชื้อผู้ป่วยเอดส์ด้วยยาต้านไวรัส
คุณภาพมาตรฐาน บริการด้วยนำใจ สิ่งแวดล้อมสดใส ห่วงใยปวงประชา
สรุปผลการดำเนินงาน โครงการพัฒนารูปแบบการดูแลรักษาผู้ติดเชื้อและ ผู้ป่วยเอดส์อย่างครอบคลุมในพื้นที่ 8 จังหวัดภาคเหนือตอนบน (TUC Care Project) ปี
Group Learning HIVQUAL-T Forum
โครงการพัฒนาคุณภาพการดูแลรักษา ผู้ติดเชื้อ/ผู้ป่วยเอดส์
สรุปการวิเคราะห์ความสำเร็จและ โอกาส พัฒนาในโครงการพัฒนา คุณภาพการดูแลผู้ติดเชื้อ ผู้ป่วยเอดส์ในภาพรวมของเขต สำนักงานป้องกันควบคุม โรคที่ 4 จ. ราชบุรี
Best Practice โรงพยาบาลสมเด็จพระญาณสังวร จังหวัดเชียงราย
โรงพยาบาล หน่วยบริการ.
สรุปการวิเคราะห์ความสำเร็จและ โอกาสพัฒนาในโครงการพัฒนา คุณภาพการดูแลผู้ติดเชื้อ ผู้ป่วยเอดส์ ในภาพรวมของเขต เขต 8 นครสวรรค์ นครสวรรค์ กำแพงเพชร อุทัยธานี
สรุปการวิเคราะห์ความสำเร็จและโอกาส พัฒนาในโครงการพัฒนาคุณภาพการดูแล ผู้ติดเชื้อ ผู้ป่วยเอดส์ ในภาพรวมของเขต 12.
โรงพยาบาลอุตรดิตถ์ รพศ. ขนาด 562 เตียง.
โรงพยาบาลสิรินธร สำนักการแพทย์ กรุงเทพมหานคร
การคัดกรองมะเร็งปากมดลูกในหญิงติดเชื้อ : ประสบการณ์โรงพยาบาลแม่ลาว Mae Lao hospital, Chiang Rai province, Thailand สุทธินีพรหมใจษา วราลักษ์ รัตนธรรม สุภาพรตันสุวรรณ.
การบูรณาการงานเอดส์ วัณโรค และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
การบูรณาการงาน HIV CARE สู่งานพัฒนาคุณภาพ
โรงพยาบาลชัยภูมิ จังหวัดชัยภูมิ
โรงพยาบาลทับสะแก อ.ทับสะแก จ.ประจวบคีรีขันธ์ ขนาด 60 เตียง
การติดตามการตรวจ CD4 ใน Asymtomatic patient (CD4 award)
การส่งเสริมวินัยการกินยาต้านไวรัสเอดส์
บทเรียน.. การดำเนินงานพัฒนาคุณภาพบริการ ด้วยรูปแบบ HIVQAUL-T ในเขต 13
การพัฒนาคุณภาพบริการ การดูแลผู้ติดเชื้อเอชไอวีและผู้ป่วยเอดส์
ภาพรวม/บทเรียนการดำเนินงานพัฒนาคุณภาพฯ HIVQUAL-T ของ รพ.ครู ก.
1. ชื่อผลงาน: ส่งเสริมการเข้าถึงบริการอย่างเป็นมิตร
การพัฒนาคุณภาพด้านการดูแลรักษาผู้ติดเชื้อและผู้ป่วยเอดส์ ( CQI Story)
โครงการเพื่อนช่วยเพื่อน กลุ่มดอกไม้งาม อ.มวกเหล็ก จ.สระบุรี
การพัฒนาระบบการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก
สถานการณ์และการดำเนินงานดูแลเด็กติดเชื้อเอชไอวี
การดูแล ผู้ติดเชื้อ / ผู้ป่วยเอดส์ ตำแหน่ง พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
ผลการพัฒนาการบันทึกข้อมูล HIV-QualT ในโรงพยาบาลระโนด จ. สงขลา. โดย นส
ระบบบริการดี ตรวจซีดีโฟร์ ครบตามมาตรฐาน
ผลการเฝ้าระวัง และป้องกันความล้มเหลวในการรักษาในโรงพยาบาลระโนด จ. สงขลา โดย นส.จาฤดี กองผล, นางละมัย ช่วยแดง พยาบาลประจำคลินิกยาต้านไวรัสโรงพยาบาลระโนด.
บริบาลเภสัชกรรม รวดเร็วปลอดภัย คลินิกเด็กหัวใจสีเหลือง.
สรุปการประชุม เขต 10.
โครงการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก
พัฒนาคุณภาพเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอและหน่วยบริการ ปฐมภูมิ
โครงการ/กิจกรรมสำคัญในปี 2557 สิ่งที่ CUP/อำเภอดำเนินการ
เป้าหมาย สตรีอายุ ปี 240,279 ผลงาน 65,541 (27.28 %) ผิดปกติ/ ส่งต่อ
แนวทางการบริหารกองทุน ที่จ่ายตามเกณฑ์คุณภาพ ปีงบประมาณ 2552
แนวทางการดำเนินงาน ส่งเสริม ป้องกันและควบคุมโรคธาลัสซีเมีย
วัตถุประสงค์ การส่งสริมสุขภาพป้องกัน และเฝ้าระวังโรค
คลินิกผู้สูงอายุต้นแบบ (Geriatric Clinic Model) โรงพยาบาลอุดรธานี
สรุปบทเรียนโครงการเอดส์ ด้าน CARE
การพัฒนาอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน
โรงพยาบาลสุรินทร์ จังหวัดสุรินทร์
บทเรียนจากการเก็บข้อมูลภาคสนามเพื่อการติดตามตาม HIVDR-EWI
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
สิ่งที่ต้องทำต่อ 1.นำเสนอผลสำเร็จของนโยบาย ปี นำเสนอนโยบายปี 55 และตัวชี้วัด สำคัญ ตามใบงานที่ 7 8และ 9 ประธาน : นพ.สสจ. วันที่ 13 ก.ย.54 เวลา 13.00น.
การเฝ้าระวังโรคและภัยสุขภาพ
สรุปการประชุมกลุ่มย่อยที่ 1
สรุปผลงานส่วนสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม ประจำปีงบประมาณ พ. ศ โครงการรณรงค์ฉีดวัคซีนป้องกันโรคพิษสุนัขบ้า ประจำปี 2555 ระยะเวลาดำเนินการ วันที่ 1.
สรุปผลการประเมิน ยุทธศาสตร์สุขภาพระดับตำบล อำเภอเรณูนคร ปี 2554
การพัฒนางานสุขภาพจิต วัยทำงาน - สูงอายุ
การจัดบริการสร้างเสริมสุขภาพ และป้องกันการติดเชื้อเอชไอวี
สกลนครโมเดล.
การป้องกัน การเสริมสร้างบทบาทองค์ ความรู้แก่ผู้นำทาง ความคิดของเด็กและ เยาวชน การพัฒนาความร่วมมือ ของ ภาคีเครือข่าย การขจัดสิ่งยั่วยุและ อิทธิพลจากสื่อ.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

โครงการพัฒนาคุณภาพการดูแลผู้ติดเชื้อและผู้ป่วยเอดส์ โรงพยาบาลร้อยเอ็ด ปีงบประมาณ 2551

สถานการณ์เอดส์ เด็ก 28 ราย ผู้ติดเชื้อและผู้ป่วยเอดส์สะสม ทั้งจังหวัด ( ตั้งแต่ มี.ค.2532-20 มี.ค.2551 ) จำนวน 6,054 ราย ๛ รับบริการโรงพยาบาลร้อยเอ็ด ประมาณ 350-500 คนต่อปี รับบริการคลินิกติดเชื้อ ผู้ใหญ่ 326 ราย (รับยาต้าน 286 ราย) เด็ก 28 ราย

ผลการวัดโดย HIVQUAL-T

ผลการวัดโดย HIVQUAL-T: ตัวชี้วัด ผลการดำเนินงาน เป้าหมาย 2549 2550 ร้อยละของผู้ป่วยที่มีเพศสัมพันธ์ไม่ใช้ถุงยางอนามัย 4 ร้อยละของผู้ป่วยที่เคยตรวจ VDRL 100 75 84.8 ร้อยละของผู้ป่วยที่มีเพศสัมพันธ์ ได้ตรวจ VDRL 87 37.7 ร้อยละของผู้ป่วยหญิงที่ได้รับการตรวจภายใน 57.5 47.7 ร้อยละของผู้ป่วยหญิงที่ได้รับการตรวจ PAP smear 80 52.5 41.5

โอกาสพัฒนา กิจกรรมที่พัฒนาแล้วจัดให้อยู่ในแผนงานประจำปี และผลักดันให้เป็น งานพัฒนาคุณภาพของโรงพยาบาล พัฒนาระบบการจัดเก็บข้อมูล การนำไปใช้ และความเชื่อมโยงกับโปรแกรมอื่นๆ เช่น NAP, CHILD , CARE, HOSXP, AIDSOI ฯลฯ พัฒนาระบบการติดตามผู้ติดเชื้อ วัดและประเมินศักยภาพการดูแลแบบองค์รวม โดยทีมสหสาขาวิชาชีพทุกปี เพื่อพัฒนาคุณภาพ อย่างต่อเนื่อง สนับสนุนทีมสมาชิกกลุ่มผู้ติดเชื้อให้มีส่วนร่วมในการให้คำปรึกษา/เยี่ยม/บริการ

เป้าหมาย ผู้ป่วยที่ระบุว่ามีเพศสัมพันธ์ มีและใช้ถุงยางอนามัยทุกครั้ง ผู้ป่วยที่มีเพศสัมพันธ์ได้รับการตรวจคัดกรองซิฟิลิส ร้อยละ 100 หญิงติดเชื้อ เอช ไอ วี ได้รับบริการตรวจภายใน และตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกอย่างครอบคลุม และได้รับการรักษาอย่างทันท่วงที มีการติดตามผลการตรวจ PAP smear ทุกราย แจ้งให้ผู้ป่วยทราบและมีระบบส่งต่อที่ชัดเจน

วิธีการดำเนินงาน ประเมินคุณภาพการดูแลรักษา โดย HIVQUAL – T อย่างต่อเนื่อง ปีละ 1 ครั้ง ประชุมทีมในการวางแผนการดำเนินงาน โครงการฯจำนวน 32 คน ๆละ 2 ครั้ง (ผู้บริหาร/สหสาขาวิชาชีพ/คณะกรรมการฯ) ประชาสัมพันธ์โครงการฯ ผ่านกลุ่มแกนนำผู้ติดเชื้อ จัดกิจกรรมกลุ่มสร้างความตระหนัก 120 คน 1 วัน นัดผู้ป่วยมารับการตรวจคัดกรอง ให้บริการตรวจคัดกรอง

งบประมาณ ค่าอาหารว่าง/อาหารกลางวันในการจัดประชุมคณะกรรมการและกลุ่มเป้าหมาย ค่าวิทยากร ค่าวัสดุ/เอกสาร/สื่อ รวมเป็นเงินทั้งสิ้น 30,000 บาท (สามหมื่นบาทถ้วน)

ขอบพระคุณที่สนับสนุน ค่ะ........