การดูแลผู้ติดเชื้อและผู้ป่วยเอดส์ ด้วยโปรแกรม HIVQUAL-T

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
นโยบายการให้บริการวัคซีนป้องกันโรค ไข้หวัดใหญ่ ประจำปี 2557
Advertisements

จังหวัดตราด ผลการเฝ้าระวังปี 2555.
สมรรถนะที่จำเป็นสำหรับผู้รับผิดชอบ การจัดการรายบุคคลในโรงพยาบาล (Case Manager และ Case Management Unit)
โรงพยาบาลสายใยรัก แห่งครอบครัว
ตัวชี้วัด P4P ตัวชี้วัดที่2 : ร้อยละของผู้ที่อยู่ในภาวะพึ่งพิง(ติดเตียง)ได้รับการดูแล สุขภาพที่บ้าน(HHC) โดยบุคลากรสาธารณสุข เป้าหมาย ร้อยละ 80.
ดูแล ด้วยใจ ห่วงใยด้วย pap โดย ลาเดือน แก้วจินดา 04/04/60.
การควบคุมวัณโรคเขตเมือง
หัวหน้ากลุ่มโรคเอดส์และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
ความคาดหวังหลังการประชุมฯ ครั้งนี้
โครงการพัฒนาการบริการเด็กที่มีปัญหาพัฒนาการและออทิสติก
กลุ่มที่ 3 เรื่องงานด้านการดูแล รักษาผู้ป่วยและการส่งต่อผู้ป่วย.
สรุปการวิเคราะห์ความสำเร็จและโอกาสพัฒนาในโครงการพัฒนาคุณภาพการดูแลผู้ติดเชื้อ/ผู้ป่วยเอดส์ ในภาพรวมของเขต 10 สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 10 เชียงใหม่
โรงพยาบาลท่าม่วง อำเภอท่าม่วง จังหวัดกาญจนบุรี
โรงพยาบาลทับสะแก อำเภอทับสะแก จังหวัดประจวบคีรีขันธ์
คณะทำงานการดูแลรักษาผู้ติดเชื้อผู้ป่วยเอดส์ด้วยยาต้านไวรัส
คุณภาพมาตรฐาน บริการด้วยนำใจ สิ่งแวดล้อมสดใส ห่วงใยปวงประชา
สรุปผลการดำเนินงาน โครงการพัฒนารูปแบบการดูแลรักษาผู้ติดเชื้อและ ผู้ป่วยเอดส์อย่างครอบคลุมในพื้นที่ 8 จังหวัดภาคเหนือตอนบน (TUC Care Project) ปี
Group Learning HIVQUAL-T Forum
สรุปการวิเคราะห์ความสำเร็จและ โอกาส พัฒนาในโครงการพัฒนา คุณภาพการดูแลผู้ติดเชื้อ ผู้ป่วยเอดส์ในภาพรวมของเขต สำนักงานป้องกันควบคุม โรคที่ 4 จ. ราชบุรี
Best Practice โรงพยาบาลสมเด็จพระญาณสังวร จังหวัดเชียงราย
โรงพยาบาล หน่วยบริการ.
สถานการณ์เอดส์ เด็ก 28 ราย ผู้ติดเชื้อและผู้ป่วยเอดส์สะสม ทั้งจังหวัด
สรุปการวิเคราะห์ความสำเร็จและ โอกาสพัฒนาในโครงการพัฒนา คุณภาพการดูแลผู้ติดเชื้อ ผู้ป่วยเอดส์ ในภาพรวมของเขต เขต 8 นครสวรรค์ นครสวรรค์ กำแพงเพชร อุทัยธานี
ผลการดำเนินงานเอดส์ ปี 2550
สรุปการวิเคราะห์ความสำเร็จและโอกาส พัฒนาในโครงการพัฒนาคุณภาพการดูแล ผู้ติดเชื้อ ผู้ป่วยเอดส์ ในภาพรวมของเขต 12.
โรงพยาบาลอุตรดิตถ์ รพศ. ขนาด 562 เตียง.
โรงพยาบาลสิรินธร สำนักการแพทย์ กรุงเทพมหานคร
การคัดกรองมะเร็งปากมดลูกในหญิงติดเชื้อ : ประสบการณ์โรงพยาบาลแม่ลาว Mae Lao hospital, Chiang Rai province, Thailand สุทธินีพรหมใจษา วราลักษ์ รัตนธรรม สุภาพรตันสุวรรณ.
การบูรณาการงานเอดส์ วัณโรค และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
การบูรณาการงาน HIV CARE สู่งานพัฒนาคุณภาพ
โรงพยาบาลทับสะแก อ.ทับสะแก จ.ประจวบคีรีขันธ์ ขนาด 60 เตียง
การจัดการระบบการดูแลรักษา โดยผู้ประสานงานในโรงพยาบาลห้วยพลู
การติดตามการตรวจ CD4 ใน Asymtomatic patient (CD4 award)
การส่งเสริมวินัยการกินยาต้านไวรัสเอดส์
25/07/2006.
การพัฒนาคุณภาพบริการ การดูแลผู้ติดเชื้อเอชไอวีและผู้ป่วยเอดส์
ภาพรวม/บทเรียนการดำเนินงานพัฒนาคุณภาพฯ HIVQUAL-T ของ รพ.ครู ก.
การส่งเสริมผู้ติดเชื้อ / ผู้ป่วยเอดส์รายใหม่เข้าสู่ระบบการดูแลรักษา
1. ชื่อผลงาน: ส่งเสริมการเข้าถึงบริการอย่างเป็นมิตร
การพัฒนาคุณภาพด้านการดูแลรักษาผู้ติดเชื้อและผู้ป่วยเอดส์ ( CQI Story)
การพัฒนางานคุณภาพงานเอดส์
โครงการเพื่อนช่วยเพื่อน กลุ่มดอกไม้งาม อ.มวกเหล็ก จ.สระบุรี
การพัฒนาระบบการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก
สถานการณ์และการดำเนินงานดูแลเด็กติดเชื้อเอชไอวี
การดูแล ผู้ติดเชื้อ / ผู้ป่วยเอดส์ ตำแหน่ง พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
ผลการพัฒนาการบันทึกข้อมูล HIV-QualT ในโรงพยาบาลระโนด จ. สงขลา. โดย นส
ระบบบริการดี ตรวจซีดีโฟร์ ครบตามมาตรฐาน
ผลการเฝ้าระวัง และป้องกันความล้มเหลวในการรักษาในโรงพยาบาลระโนด จ. สงขลา โดย นส.จาฤดี กองผล, นางละมัย ช่วยแดง พยาบาลประจำคลินิกยาต้านไวรัสโรงพยาบาลระโนด.
บริบาลเภสัชกรรม รวดเร็วปลอดภัย คลินิกเด็กหัวใจสีเหลือง.
เป้าหมาย สตรีอายุ ปี 240,279 ผลงาน 65,541 (27.28 %) ผิดปกติ/ ส่งต่อ
การติดตามประเมินผล โครงการให้วัคซีนป้องกัน โรคไข้หวัดใหญ่
นโยบายการป้องกัน การถ่ายทอดเชื้อเอชไอวีจากแม่สู่ลูก สำหรับประเทศไทย พ
แนวทางการดำเนินงาน ส่งเสริม ป้องกันและควบคุมโรคธาลัสซีเมีย
วัตถุประสงค์ การส่งสริมสุขภาพป้องกัน และเฝ้าระวังโรค
สรุปบทเรียนโครงการเอดส์ ด้าน CARE
นโยบายคุณภาพ Quality Policy
การพัฒนากิจกรรมเพื่อการป้องกันการเกิดเชื้อเอชไอวีดื้อยา
โรงพยาบาลสุรินทร์ จังหวัดสุรินทร์
บทเรียนจากการเก็บข้อมูลภาคสนามเพื่อการติดตามตาม HIVDR-EWI
โรงพยาบาลจิตเวชขอนแก่นราชนครินทร์
ผลงานเดือนเม.ย.-ธ.ค.56 ถึงเดือน ม.ค.57
สิ่งที่ต้องทำต่อ 1.นำเสนอผลสำเร็จของนโยบาย ปี นำเสนอนโยบายปี 55 และตัวชี้วัด สำคัญ ตามใบงานที่ 7 8และ 9 ประธาน : นพ.สสจ. วันที่ 13 ก.ย.54 เวลา 13.00น.
สรุปการประชุมกลุ่มย่อยที่ 1
นิยาม ศูนย์ให้คำปรึกษาคุณภาพ (Psychosocial Clinic) หน่วยบริการระดับโรงพยาบาลชุมชนที่มีการจัดบริการดูแล ช่วยเหลือทางสังคมจิตใจทุกกลุ่มวัย โดยมีองค์ประกอบ.
สรุปผลการประเมิน ยุทธศาสตร์สุขภาพระดับตำบล อำเภอเรณูนคร ปี 2554
การจัดบริการสร้างเสริมสุขภาพ และป้องกันการติดเชื้อเอชไอวี
ยุทธศาสตร์ที่ 1 พัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ เพื่อลดโรคและภัยสุขภาพ รอบ 5 เดือน ( ตุลาคม กุมภาพันธ์ 2554 )
1. การ ดำเนินงานตามกฎระเบียบ การประกันสังคม 2. ความสามารถ ในการดำเนินการ เรียกเก็บเงินได้ตามกำหนด 3. ความรวดเร็ว ถูกต้อง ครบถ้วนใน การให้บริการ 4. การมีส่วนร่วมในการดูแลผู้ป่วย.
การดำเนินงาน PMTCT (การป้องกันการถ่ายทอดเชื้อเอชไอวีจากแม่สู่ลูก)
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การดูแลผู้ติดเชื้อและผู้ป่วยเอดส์ ด้วยโปรแกรม HIVQUAL-T โครงการพัฒนาคุณภาพ การดูแลผู้ติดเชื้อและผู้ป่วยเอดส์ ด้วยโปรแกรม HIVQUAL-T โรงพยาบาลหนองคาย

ขอบเขต ให้บริการพยาบาลและให้คำปรึกษาผู้ติดเชื้อ HIV และผู้ป่วยเอดส์ ที่ได้รับยาต้านไวรัส และผู้ป่วยที่ยังไม่ได้รับยาต้านไวรัส เฝ้าระวังเด็กแรกเกิดถึง 18 เดือน ที่คลอดจากแม่ติดเชื้อ HIV

เข็มมุ่ง ปี พ.ศ. 2551-2553 พัฒนาคุณภาพคลินิกบริการ พัฒนาระบบการบันทึกทางการพยาบาล พัฒนาระบบนัดและระบบการติดตามเยี่ยมผู้ป่วย พัฒนาการป้องกันและการเฝ้าระวังความคลาดเคลื่อนทางยา พัฒนาการลงข้อมูลผู้ติดเชื้อและผู้ป่วยเอดส์ พัฒนาเครือข่ายการดูแลการติดเชื้อและผู้ป่วยเอดส์ทั้งจากภายในหน่วยงานและจากหน่วยงานภายนอกที่เกี่ยวข้อง

เป้าหมาย ผู้ติดเชื้อ HIV และผู้ป่วยเอดส์มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น ความสม่ำเสมอในการรับประทานยาของผู้ป่วย 95-100 % ผู้ติดเชื้อ HIV และผู้ป่วยเอดส์ที่ได้รับยาต้านไวรัส ได้รับการติดตามการกินยาอย่างต่อเนื่อง ร้อยละ 80

โครงการ NAPHA -โรงพยาบาลหนองคายมีจำนวน 349 เตียง - คลินิกรับยาต้านไวรัสเปิดบริการ รายเก่าทุกวันอังคาร ( 8.00-16.00 น.) รายใหม่ทุกวันพฤหัสบดี ( 8.00-16.00 น. มีผู้ติดเชื้อ HIV ทั้งหมดที่ลงทะเบียนผ่านโปรแกรม NAP 412 ราย ผู้ติดเชื้อที่ได้รับยาต้านไวรัสในโครงการหลักประกันสุขภาพ ( NAPHA เดิม ) มีจำนวนทั้งหมด 346 ราย ผู้ใหญ่ 170 ราย เด็ก 68 ราย ผู้ป่วยที่ได้รับยาต้านไวรัสในระบบประกันสังคมมีทั้งหมด 53 ราย ผู้ป่วยที่ได้รับยาต้านไวรัสที่เบิกได้-จ่ายตรง 14 ราย - ผู้ป่วยที่ได้รับยาต้านไวรัสที่ไม่มีสิทธิใดๆชำระเงินค่ารักษาเอง 3 ราย

ผู้ป่วยที่ได้รับยาต้านไวรัสในโครงการ PHPT ทั้งหมด 38 ราย ผู้ป่วยโครงการ CARE ทั้งหมด 29 ราย ได้รับยาต้านไวรัสแล้ว 8 ราย ยังไม่ได้รับยาต้านไวรัส 21 ราย ผู้ป่วยโครงการ NAPHA EXTENTION 8 ราย ผู้ป่วยที่ได้รับยา TB ร่วมกับยาต้านไวรัส 8 ราย

เชื้อและผู้ป่วยเอดส์ด้วย สรุปโครงการพัฒนา คุณภาพการดูแลผู้ติด เชื้อและผู้ป่วยเอดส์ด้วย โปรแกรมHIVQUAL - T ประจำปีงบประมาณ 2549 และปีงบประมาณ 2550

การติดตามผล CD4

การติดตามผล VL

2. การป้องกันโรคฉวยโอกาสแบบปฐมภูมิ

3. การให้ยาต้านไวร้ส

4. การคัดกรองวัณโรค

5. การป้องกันการแพร่เชื้อ

6. การตรวจคัดกรองโรงติดต่อทางเพศสัมพันธ์

7. การตรวจคัดกรองโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์(อื่น ๆ)

8. การคัดกรองมะเร็งปากมดลูกในหญิงติดเชื้อ

แผนการปรับปรุงคุณภาพการดูแลผู้ติดเชื้อ HIV และผู้ป่วยเอดส์ (QI Plan ) ผู้ป่วย HIV ทุกรายต้องได้รับ Saft sex education ผู้ป่วย HIV ทุกรายต้องได้รับการตรวจ CD4 - CD4 > 500 Cell ตรวจทุก 1 ครั้ง/ปี - CD4 > 350-500 Cell ตรวจทุก 6 เดือน - CD4 > 200-350 Cell ตรวจทุก 3 เดือน 6. ผู้ป่วย HIV ทุกรายที่ได้รับยาต้านไวรัสต้องได้รับการตรวจ VL อย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง 7. ผู้ป่วย HIV ที่มีผล CD4 < 50 cell ต้องได้รับการตรวจ CMVR ทุกราย

ความก้าวหน้าในการดำเนินกิจกรรม พัฒนาคุณภาพ ( QI Progress ) ประชุมชี้แจงแนวทางการปฏิบัติงานการดูแลผู้ติดเชื้อและผู้ป่วยเอดส์แก่เจ้าหน้าที่ทุกหน่วงงานให้ปฏิบัติงานไปในทิศทางเดียวกันเพื่อให้บรรลุตามการวัดผลคุณภาพ HIVQUAL-T 2. จัดทำตรายางการคัดกรองผู้ป่วยที่ติดเชื้อและผู้ป่วยเอดส์ที่มารับการบริการโรงพยาบาลหนองคายโดยให้สอดคล้องกับตัวชี้วัด HIVQUAL-T 3. ให้ความรู้ทางวิชาการแก่เจ้าหน้าที่ทุกหน่วยงานพร้อมทั้งสอบถามปัญหาและอุปสรรคที่พบบ่อยในการให้คำปรึกษาผู้ป่วยที่ติดเชื้อเพื่อหาแนวทางแก้ไขร่วมกัน โดยเข้าร่วมการประชุมประจำเดือนของทุกหน่วยงาน 4. จัดทำแบบฟอร์มการบันทึกทางการพยาบาลสำหรับผู้ติดเชื้อและผู้ป่วยเอดส์ ตามมาตรฐานตัวชี้วัด HIVQUAL-T 5. จัดประชุมให้ความรู้แก่ผู้ติดเชื้อในเรื่องโรคติดเชื้อฉวยโอกาสและโรคมะเร็งปากมดลูก เดือนละ 1 ครั้ง

สิ่งที่ได้เรียนรู้ Lesson Learn 1. ได้รับทราบข้อมูลและสถานะของผู้ป่วยในโรงพยาบาล 2. ได้รับความรู้และทัศนคติที่ดีต่อกระบวนการพัฒนาคุณภาพการดูแลผู้ติดเชื้อ/ผู้ป่วยเอดส์ 3. ได้เข้าใจวิธีการวัดผลการปฏิบัติงานการดูแลผู้ติดเชื้อ/ผู้ป่วยเอดส์โดยใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ HIV QUAL-T รวมทั้งสามารถใช้ประโยชน์ผลจากการวิเคราะห์ของโปรแกรมได้อย่างเหมาะสม

ปัญหาและอุปสรรคในการดำเนินงาน - ด้วยข้อจำกัดของบุคลากรผู้รับผิดชอบงานและภาระงานที่มากทำให้การดำเนินการจัดเก็บข้อมูลล่าช้าประกอบกับผู้ป่วยที่มีผล HIV Positive บางรายไม่ได้ผ่านเข้ามาในระบบของโรงพยาบาล ซึ่งอาจทำให้ได้ข้อมูลที่คลาดเคลื่อนและทำให้การเฝ้าระวังผู้ป่วยไม่คลอบคลุม

สวัสดี