โครงการพัฒนาและรณรงค์การใช้หญ้าแฝกอันเนื่องมาจากพระราชดำริ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การประชุมแผนแม่บทพัฒนาลุ่มน้ำในเขตอำเภอแม่จัน 31 มีนาคม 2553 ณ ลานทองอุทยานวัฒนธรรมลุ่มน้ำโขง แผนพัฒนาลุ่มน้ำในเขตอำเภอแม่จัน.
Advertisements

 โครงการส่งเสริมและพัฒนาอาชีพ ประชาชนในจังหวัดเชียงใหม่
ชื่อโครงการ : โครงการซ่อมแซมพระอุโบสถ เสนาสนะและปรับภูมิทัศน์ วัดปราสาทเยอเหนือ เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เนื่องในโอกาสมหามงคลทรงเจริญพระชนมพรรษา.
โครงการปิดทองหลังพระ
วันจันทร์ที่ 30 กรกฎาคม 2555 เวลา น
การจัดทำโครงการเฉลิมพระเกียรติ
โครงการเพิ่มศักยภาพการผลิตข้าวและสร้างความเข้มแข็งให้ชาวนา เพื่อรองรับผลกระทบจากการเปิดเสรีการค้าอาเซียน (AFTA) ประสานงานกับกรมการข้าว และสำนักงานเกษตรจังหวัด.
วิสัยทัศน์จังหวัดพะเยา “เมืองเกษตรปลอดภัย การท่องเที่ยวที่ยั่งยืน”
โครงการทำบุญเข้าวัดด้วยการแต่งชุดผ้าไทย
บทที่ 3 ทรัพยากรดิน.
การวางแผนและการดำเนินงานส่งเสริม
Green Village บ้านคลองกั่ว หมู่ 7 ต.เขาพระ อ.รัตภูมิ จ. สงขลา.
แนวทางการตรวจราชการและนิเทศงานกรณีปกติระดับกระทรวง กระทรวงสาธารณสุข เขตตรวจราชการที่ 5 ประจำปีงบประมาณ
โครงสร้างที่ ก.พ. กำหนดไว้เดิม โครงสร้างที่ขอปรับปรุงใหม่
การประชุมผู้บริหารสำนักชลประทานที่ 10
วิกฤตการณ์เกี่ยวกับการตัดไม้ทำลายป่า และการสูญเสียพื้นที่ป่าไม้
การใช้ทรัพยากรเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน
นโยบายด้านการบริการวิชาการ
84 พรรษา องมหาชัน.
“แนวทางการดำเนินงาน โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ”
กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
ส่วนฟื้นฟูและพัฒนาพื้นที่อนุรักษ์
การจัดทำคำของบประมาณรายจ่าย กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
โครงการพัฒนาสติปัญญาเด็กไทย ปี 2551
โครงการคลินิกเกษตรเคลื่อนที่ในพระราชานุเคราะห์สมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร ความเป็นมา กระทรวงเกษตรและสหกรณ์มีความปลื้มปิติและสำนึกในพระมหากรุณาธิคุณ.
สำนักจัดการปฏิรูปที่ดิน
งานศูนย์ศิลปาชีพบางไทร อำเภอบางไทร จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
ปฏิรูปที่ดิน ปฏิรูปเกษตรกร Management reform
โครงการสายใยรักแห่งครอบครัว
ทิศทางการดำเนินงาน ปีงบประมาณ 2554
ประเด็นที่ 1 ให้ทบทวนโยบายแนว ทางการดำเนินงานที่ ผ่านมา ของ ส. ป. ก. พร้อมทั้งวิเคราะห์ ปัญหาอุปสรรค และ แนวทางแก้ไข 1. กิจกรรมการจัดที่ดินและคุ้มครองพื้นที่
ภูมิปัญญาท้องถิ่นในการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
ตัวอย่าง ตารางกรอบแผนการบริหารจัดการและพัฒนาลุ่มน้ำ แบบบูรณาการ
โครงการจัดทำแผนการบริหารจัดการทรัพยากรน้ำอย่างเป็นระบบ (การจัดทำฐานข้อมูลและสารสนเทศภูมิศาสตร์ ลุ่มน้ำสาขาหรือลุ่มน้ำย่อยนำร่อง)
โครงการ "ฟันเทียมพระราชทาน"
Department for development of Thai Traditional and Alternative Medicine กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและ การแพทย์ทางเลือก.
ดำเนินการโดย ศูนย์วิจัยและพัฒนาประมงชายฝั่งนราธิวาส
ดำเนินการโดย ศูนย์วิจัยและพัฒนาประมงชายฝั่งนราธิวาส
โครงการพัฒนาลุ่มน้ำก่ำอันเนื่องมาจากพระราชดำริ
ศูนย์ศึกษาและพัฒนาลำไยหริภุญชัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
การสร้างจิตสำนึกในการอนุรักษ์ทรัพยากร
- กรมส่งเสริมการเกษตร -
สำนักงานเกษตรจังหวัดอ่างทอง
ศูนย์การเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงชุมชนตามแนวพระราชดำริ (โรงเรียนแก้จนคนท้องถิ่น อำเภอแม่วาง จังหวัดเชียงใหม่)
ศูนย์จัดการศัตรูพืชชุมชน
การขับเคลื่อนการจัดทำสมุดทะเบียนเกษตรกร ปีงบประมาณ พ.ศ. 2555
สำนักงานเกษตรอำเภอแก่งกระจาน
ภาควิชาเศรษฐศาสตร์เกษตร
วิจัยเพื่อชุมชน : การประเมินและถ่ายทอดเทคโนโลยีเกษตรยั่งยืน
ตามเกณฑ์มาตรฐานโรงพยาบาลและบริการสุขภาพ
สำนักงานจัดรูปที่ดินจังหวัดราชบุรี
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาขอนแก่น เขต 3
“ การตรวจราชการ บูรณาการเพื่อเพิ่ม ประสิทธิภาพระบบบริหาร ”
การพัฒนาพื้นที่พิเศษ
ปัญหาสิ่งแวดล้อม.
สำนักงานการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม เลขาธิการ ส.ป.ก. 1,995
ความหมายและความสำคัญเกษตรทฤษฎีใหม่
สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ส43102
โครงการเสริมสร้างความรู้ด้านชลประทาน
ระบบส่งเสริมการเกษตร
ศูนย์การเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงชุมชนตามแนวพระราชดำริ (โรงเรียนแก้จนคนท้องถิ่น อำเภอแม่วาง จังหวัดเชียงใหม่)
เรื่อง : โรคของดินที่ควรเฝ้าระวัง
ภารกิจจัดที่ดิน ปีงบประมาณ 2553
สรุปรายงานผลการปลูกหญ้าแฝกตามโครงการพระราชดำริ
การวิจัย และองค์ความรู้จากโครงการหลวง
โครงการพระราชดำริ หญ้าแฝก จัดทำโดย ด.ช.พงศ์ธนัช เสนอ อ.มุทิตา หวังคิด.
ศูนย์ปฏิบัติการข่าว เกษตร สำนักงานเกษตรอำเภอ บ้านสร้าง อำเภอบ้านสร้าง จังหวัด ปราจีนบุรี ฉบับที่ ๒ ประจำเดือน กุมภาพันธ์ ๒๕๕๔.
เกษตรอินทรีย์ชีวภาพบ้านตะโกสิงห์หมู่ 9 ตำบลอีสานเขต
นิเวศวิทยาการเมือง : ความยั่งยืนทางนิเวศในสังคมไทย
Company LOGO รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข ศ. นพ. รัชตะ รัชตะนาวิน 20 ตุลาคม 2557.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

โครงการพัฒนาและรณรงค์การใช้หญ้าแฝกอันเนื่องมาจากพระราชดำริ ความเป็นมา พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงให้ความสำคัญกับการจัดการทรัพยากรดิน ด้วยทรงเห็นว่าดินเป็นปัจจัยพื้นฐานที่สำคัญเช่นเดียวกับน้ำ จึงมีพระราชดำริเริ่มให้มีการนำหญ้าแฝก ซึ่งเป็นพืชที่มีคุณลักษณะพิเศษที่มีรากยาวหยั่งลึกแผ่กระจายเป็นตาข่ายลงไปในดินเสมือนเป็นกำแพงธรรมชาติที่มีชีวิตมาใช้แก้ปัญหาการชะล้างพังทลายของดินที่ส่งผลต่อความเสื่อมโทรมแก่ทรัพยากรดิน จึงพระราชทานพระราชดำริเรื่องนี้ครั้งแรก เมื่อวันที่ 22 มิถุนายน 2534 และได้มีพระราชดำริอย่างต่อเนื่องครอบคลุมการดำเนินงานทุกด้าน ทั้งด้านศึกษา วิจัย วิธีการปลูก และการใช้ประโยชน์ โดยทรงให้ความสำคัญกับการใช้ประโยชน์เพื่อการอนุรักษ์ดินและน้ำ เนื่องในมหามงคลสมัยที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เสด็จเถลิงถวัลย์ราชสมบัติครบ 60 ปี ในปีพุทธศักราช 2549 และเนื่องในมหามงคลสมัยที่ทรงเจริญพระชนมพรรษา 80 พรรษา ในปีพุทธศักราช 2550 กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ จึงได้จัดทำโครงการปลูกหญ้าแฝกเฉลิมพระเกียรติ ระหว่างปี 2548-2550 และยังคงดำเนินการเรื่อยมาจนปัจจุบัน เพื่อรณรงค์ส่งเสริมและขยายผลให้ประชาชนปลูกหญ้าแฝกในพื้นที่ทั่วประเทศ เพื่อการอนุรักษ์ดินและน้ำ และนำหญ้าแฝกไปใช้ประโยชน์อย่างเหมาะสม กว้างขวางและต่อเนื่อง ภายใต้การสนับสนุนของ 11 หน่วยงาน โดยมีสำนักงานคณะกรรมการพิเศษเพื่อประสานงานโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ (สำนักงาน กปร.) เป็นหน่วยงานกลางในการบูรณาการร่วมกับหน่วยงานต่างๆ ทิศทางการดำเนินงาน ส.ป.ก. ได้จัดทำโครงการพัฒนาและรณรงค์การใช้หญ้าแฝกอันเนื่อง มาจากพระราชดำริ มาตั้งแต่ปี 2548 โดยประสานงานกับ ส.ป.ก.จังหวัด เพื่อประชาสัมพันธ์ให้เกษตรกรและชุมชนที่สนใจเข้าร่วมโครงการ พร้อมให้การสนับสนุนงบประมาณเพื่อเป็นค่าใช้จ่ายในการดำเนินงาน นอกจาก นั้นยังได้ประสานงานกับกรมพัฒนาที่ดินในการขอรับการสนับสนุนพันธุ์กล้าหญ้าแฝก สำหรับแจกจ่ายให้กับเกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการ ส.ป.ก. ได้พยายามส่งเสริมให้เกษตรกรในเขตปฏิรูปที่ดินปลูกหญ้าแฝกอย่างต่อเนื่อง เพื่อการอนุรักษ์ดินและน้ำ รวมทั้งใช้ประโยชน์จากหญ้าแฝกอย่างเหมาะสม และได้จัดทำโครงการติดตามและประเมินผลโครงการพัฒนาและรณรงค์การใช้หญ้าแฝกฯ เพื่อศึกษาผลการดำเนินงาน ประเด็นปัญหาและอุปสรรค เพื่อเป็นแนวทางในการปรับปรุงและพัฒนาให้บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการต่อไป

วัตถุประสงค์ - เพื่อรณรงค์และขยายผลการปลูกหญ้าแฝกในพื้นที่เขตปฏิรูปที่ดิน - เพื่ออนุรักษ์ทรัพยากรดินและน้ำ โดยเฉพาะการป้องกันการชะล้าง พังทลายของหน้าดินและการทลายชั้นดินดาน - เพื่อส่งเสริมการใช้ประโยชน์ของหญ้าแฝกอย่างเหมาะสม องค์ความรู้/การจัดการ - หญ้าแฝกกับการอนุรักษ์ดินและน้ำ  การแก้ปัญหาการชะล้างพังทลายของหน้าดิน  การแก้ปัญหาดินดาน - การจัดการพื้นที่เชิงอนุรักษ์ เพื่อฟื้นฟูทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม ประโยชน์ที่ได้รับ - หญ้าแฝกได้รับความนิยมและปลูกกันอย่างแพร่หลายในเขต ปฏิรูปที่ดิน - ปัญหาเรื่องการชะล้างพังทลายของหน้าดินและดินดานลดลง - มีการใช้ประโยชน์จากหญ้าแฝกอย่างเหมาะสม ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมในเขตปฏิรูปที่ดินได้รับการ อนุรักษ์และฟื้นฟู ผลการดำเนินงาน ปี 2548 - 2554 ดำเนินการปลูกหญ้าแฝกในเขตปฏิรูปที่ดิน จำนวน 11,585,930 กล้า เนื้อที่ประมาณ 2,500 ไร่ ผลที่ได้รับ/คาดว่าจะได้รับ - พื้นที่ในเขตปฏิรูปที่ดินมีความอุดมสมบูรณ์ ทรัพยากร ดินและน้ำได้รับการอนุรักษ์และฟื้นฟู - เกษตรกรมีชีวิตความเป็นอยู่ที่ดีขึ้น ด้วยทรัพยากรดิน และน้ำที่สมบูรณ์

แผนดำเนินงาน ปี 2555 งบประมาณ 2,954,400 บาท  พัฒนาองค์ความรู้ ให้แก่เกษตรกรและเจ้าหน้าที่ หลักสูตร “หญ้าแฝกกับการพัฒนาคุณภาพชีวิตเกษตรกรในเขต ปฏิรูปที่ดิน” จำนวน 72 ราย - ภาคเหนือตอนบน (9 จังหวัด) จำนวน 27 ราย - ภาคเหนือตอนล่าง (8 จังหวัด) จำนวน 24 ราย - ภาคใต้ตอนบน (7 จังหวัด) จำนวน 21 ราย  ดำเนินการปลูกหญ้าแฝกในเขตปฏิรูปที่ดิน 66 จังหวัด จำนวน 5,202,500 กล้า