โครงการสร้างและพัฒนาเกษตรกรรุ่นใหม่ ผ่านกลไกสถานบันศึกษา

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ศูนย์พัฒนา การเรียนการสอนโรงเรียนในฝัน
Advertisements

แนวทางการดำเนินการของกระทรวงสาธารณสุข
สิ่งที่ต้องดำเนินการต่อ
ประเด็นเน้นหนัก โครงการส่งเสริมและพัฒนาวิสาหกิจชุมชน 2550
กลุ่มที่ 3 กลุ่มจังหวัดที่ 6.1 กลุ่มจังหวัดที่ 6.2 กลุ่มจังหวัดที่ 6.3 กลุ่มจังหวัดที่ 7.1 กลุ่มจังหวัดที่ 7.2.
การบริหารความเสี่ยง และการวางระบบควบคุมภายใน
แนวทางการตรวจราชการและนิเทศงานกรณีปกติระดับกระทรวง กระทรวงสาธารณสุข เขตตรวจราชการที่ 5 ประจำปีงบประมาณ
1) รวบรวมรายชื่อ PM ของทุกจังหวัด และ จัดระบบประสานงาน ( คทง. เขตจะประชุมชี้แจงบทบาท PM) 2) ร่วมกับศูนย์วิชาการ PM ของทุกจังหวัด อนุกรรมการ PP และอนุกรรมการพัฒนา.
แนวทางการตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
การเปิดโอกาสให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็นและร่วมติดตาม ตรวจสอบผลการปฏิบัติราชการ วันที่ 29 มกราคม 2551.
กลุ่มที่ สถาบันที่มี IBC
สำนักบริหารงานการมัธยมศึกษาตอนปลาย
2. กระทรวงศึกษาธิการกับการเตรียมความพร้อมสู่ประชาคมอาเซียน
วันที่ 10 ตุลาคม 2556 ณ ห้องประชุม ส.ส.ส.
ลักษณะและประเด็นวิจัย สำหรับคณาจารย์สถาบันอุดมศึกษา
การบริหารงบประมาณ ขั้นตอน 1. จัดทำแผนปฏิบัติการ 2. การใช้จ่ายงบประมาณ
สรุปผลการดำเนินงานตามนโยบาย และแผนยุทธศาสตร์ระดับชาติ ด้านการพัฒนาเด็ก ตามแนวทาง “โลกที่เหมาะสมสำหรับเด็ก” (พ.ศ )
ที่โครงการงบประมา ณ ( บาท ) กลุ่มเป้าหม าย 5 โครงการส่งเสริมสวัสดิภาพเด็ก ปฐมวัยในชุมชน 21,000, เรื่อง 1 หลักสูตร มีทั้งสิ้น 7 โครงการ เป็นเงิน 148,655,200.
แนวทางการสนับสนุนงบประมาณ องค์กรเอกชนด้านเอดส์
กลุ่มที่ ๓ เรื่อง โรคไม่ติดต่อ
กลุ่มที่ 4 กลุ่มจังหวัดที่ 8.1 สุราษฎร์ธานี ชุมพร ระนอง
โครงการคลินิกเกษตรเคลื่อนที่ในพระราชานุเคราะห์สมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร ความเป็นมา กระทรวงเกษตรและสหกรณ์มีความปลื้มปิติและสำนึกในพระมหากรุณาธิคุณ.
โครงการศูนย์บริการประชาชนเคลื่อนที่ในเขตปฏิรูปที่ดินจังหวัดกระบี่
การพัฒนาองค์ความรู้ และการบูรณาการพัฒนา ขั้นพื้นฐาน.
โครงการสายใยรักแห่งครอบครัว
ทิศทางการดำเนินงาน ปีงบประมาณ 2554
ประเด็นที่ 1 ให้ทบทวนโยบายแนว ทางการดำเนินงานที่ ผ่านมา ของ ส. ป. ก. พร้อมทั้งวิเคราะห์ ปัญหาอุปสรรค และ แนวทางแก้ไข 1. กิจกรรมการจัดที่ดินและคุ้มครองพื้นที่
ประชุมสร้างความเข้าใจ นำนโยบายสู่การปฏิบัติ โครงสร้าง และแผนปฏิบัติการ
โดย วัชรินทร์ จำปี รองเลขาธิการ กศน.
การรายงานความก้าวหน้าในระบบ
จังหวัดนครปฐม.
ปัญหาและแนวทางการดำเนินงาน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล (รพ. สต
สำนักงาน กศน. สำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ
กลุ่มที่ 1.
กลุ่มที่ ๔ “ รวมมิตรพิชิต ศูนย์ ” ® วิธีการ/แนวทางการ ปฏิบัติงาน และพัฒนาส่งเสริม การเกษตร ในระดับพื้นที่ร่วมกัน.
กลุ่ม 3 ผู้นำเสนอ นายปรีชา คงเกลี้ยง เกษตรอำเภอเมืองชลบุรี
กรมฯอบรมการสร้างวิทยากรระดับจังหวัด
งบประมาณ แผ่นดิน เงินรายได้ แหล่งทุนภายนอก.
รายงานการดำเนินงาน โครงการปรับปรุงฐานข้อมูลเกษตรกรรายครัวเรือน ภายใต้โครงการเพิ่มศักยภาพผู้ว่างงาน ศูนย์สารสนเทศ.
พรบ.ส่งเสริมวิสาหกิจชุมชน
การสัมมนากลุ่ม 3 ความสำเร็จในการจัดทำแผนงาน/โครงการ
ระบบส่งเสริมการเกษตร
กลุ่มส่งเสริมอาชีพการเกษตร
คำอธิบายเกษตรหมู่บ้าน
โครงการส่งเสริมการผลิตสินค้าเกษตรปลอดภัยและ ได้มาตรฐาน ปีงบประมาณ 2553
การดำเนินงาน และพัฒนายุวเกษตรกร
รองอธิบดีกรมส่งเสริมการเกษตร ฝ่ายวิชาการ
เรื่องของการแจ้งข้อมูล ข่าวสาร ต้อง ให้ฉับไว ถูกต้อง ด้านคุณภาพการให้บริการ ความพึง พอใจต้องสำรวจให้ครบทุกหน่วยงาน ต้องพัฒนาทักษะ ความรู้ความเข้าใจ จัดระบบงานใหม่ให้สอดคล้องกับความ.
“ การตรวจราชการ บูรณาการเพื่อเพิ่ม ประสิทธิภาพระบบบริหาร ”
กลุ่มที่ 3 หัวหน้าฝ่าย / เจ้าหน้าที่
กลุ่ม ๒ จังหวัดเชียงใหม่ จังหวัดเชียงราย.
มาตรการเร่งรัดติดตาม การใช้จ่ายเงินปีงบประมาณ พ.ศ.2557
การยกระดับคุณภาพการศึกษา สู่การปฏิบัติ
กลุ่ม A3 ข้าวนก.
พรทิพย์ ศิริภานุมาศ กองแผนงาน กรมควบคุมโรค
วิชาโครงการ 4 หน่วยกิต 2 ชั่วโมง
ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ โดย ผู้อำนวยการกลุ่มพัฒนาระบบบริหาร
หัวข้อสัมมนา กลุ่มที่ 3 การฝึกอบรมของ ส. ป. ก. ควร อบรมอย่างไรบ้าง ทั้งภาคทฤษฎีและปฏิบัติ ควรจัดทำ หลักสูตรอย่างไร การดำเนินงานพัฒนาเกษตรกรรุ่น ใหม่ จะทำอย่างไร.
ภารกิจจัดที่ดิน ปีงบประมาณ 2553
Roadmap : การขับเคลื่อนระดับพื้นที่ เป็นอย่างไร ??
กลุ่มที่ 1 ( ภาคเหนือ ) นายวรชัยอุทัยรัตน์ประธาน นายกันต์คำหมู่รอง ประธาน นายสุนันท์รัตนวิชัย เลขานุการ นายสวาทจารุเวศ ผู้ช่วยเลขานุการ นางเสาวลักษณ์บูราพรนุสรณ์
แนวทางการรายงาน ผลการปฏิบัติงานส่งเสริมการเกษตร ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
รายละเอียดของระบบการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา
การดำเนินงาน กศน.ตำบลให้ประสบความสำเร็จ
สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 11 จังหวัดนครศรีธรรมราช
สำนักงานป้องกันควบคุม โรคที่ 5 จังหวัดนครราชสีมา.
โครงการด้านเทคโนโลยีสารสนเทศที่ดำเนินการในปีงบประมาณ 2553
ทิศทางในการพัฒนาในเขตปฏิรูปที่ดิน ควรมีแนวทางอย่างไร 1.กลไก 2.รูปแบบการพัฒนา - วิสาหกิจชุมชน - นิคมการเกษตร / นิคมเศรษฐกิจพอเพียง - อื่นๆ หัวข้อสัมมนากลุ่มที่
กิจกรรมพัฒนาตลาดและเครือข่ายการผลิต
หัวหน้างานบริหารทั่วไป. ทิศทางการทำงานของกรมการจัดหางานภายใต้ สภาพแวดล้อมที่เปลี่ยนแปลง - ทีมในการปฏิบัติงานต้องเป็นทีมเวอร์ค (team work) - บุคลากรต้องมีความรู้และประสบการณ์ในการ.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

โครงการสร้างและพัฒนาเกษตรกรรุ่นใหม่ ผ่านกลไกสถานบันศึกษา เป้าหมายโครงการฯ ปี 2552 มีผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน 7,380 คน 1. สถาบันอาชีวศึกษา จำนวน 76 แห่ง ยุวเกษตรกร ปวช./ปวส. จำนวน 1,410 คน 2. บุคคลที่สนใจเข้าร่วมโครงการฯ จำนวน 5,970 คน ผลการดำเนินงาน ส.ป.ก. รับสมัครบุคคลสนใจเข้าร่วมโครงการ หลักสูตรเฉพาะทาง 2,151 ราย (152.55%) หลักสูตรครบวงจร 4,638 คน (101.71%)

ผลการตรวจราชการ 1. ผลการดำเนินงานของส่วนราชการต่างๆ ดำเนินการได้ตามเป้าหมาย 2. ยังไม่มีการบูรณาการระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ในการดำเนินงานให้บรรลุข้อตกลงร่วมกัน แต่ละหน่วยงานทำงานเฉพาะส่วนที่เกี่ยวข้อง โดยไม่ประสานการอบรมร่วมกัน ส่วนกลางไม่ได้รับรายงานถึงบทบาทของสถาบันอาชีวศึกษาที่ร่วมโครงการ 3. การกำหนดเป้าหมายจำนวนเกษตรกร ต้องจัดทำรายชื่อเกษตรกรให้ส่วนกลาง และประสานแจ้งรายชื่อส่งต่อให้หน่วยงานอื่น หากรายชื่อใดไม่ตรงกันต้องปรับแก้ไขใหม่ 4. บางจังหวัดไม่มีพื้นที่ดินในเขตปฏิรูปที่ดินว่างหรือเพียงพอ สำหรับเกษตรกรรุ่นใหม่/นักศึกษาเข้าดำเนินกิจกรรมทางการเกษตร ส่วนกลางควรเตรียมแผนจัดหาพื้นที่

ปัญหาและอุปสรรค 1. ผู้ปฏิบัติขาดความชัดเจนในตัวโครงการ บทบาท หน้าที่ ความรับผิดชอบของแต่ละหน่วยงาน 2. ขาดการบูรณาการระหว่างหน่วยงาน เนื่องจากการโอนเงินงบประมาณของแต่ละหน่วยงานไม่พร้อมกัน และในเรื่องรายชื่อเกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการไม่ตรงกัน 3. เพื่อให้ได้บุคคลครบตามเป้าหมาย บางจังหวัดได้มีผู้สูงอายุซึ่งมีอาชีพเกษตรเข้าร่วมโครงการ 4. หลักสูตรฝึกอบรมถูกกำหนดจากส่วนกลาง บางหลักสูตรไม่เหมาะกับสถานการณ์ปัจจุบัน

ข้อเสนอแนะ 1. กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ควรกำกับ ดูแลโครงการ จัดประชุมชี้แจงให้เกิดความชัดเจน เพื่อบรรลุผลตามกรอบความร่วมมือที่ตกลงไว้ร่วมกับกระทรวงศึกษาธิการ 2. ควรมีการวางแผนกำหนดหลักสูตร จัดทำแผนงาน งบประมาณ ให้สอดคล้องกับกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมโครงการ และ ส.ป.ก. ควรรายงานผลการดำเนินงานให้ทั้ง 2 กระทรวงทราบ ในฐานะเลขานุการคณะกรรมการบริหารโครงการฯ 3. การดำเนินงานโครงการควรเป็นไปตามกรอบความร่วมมือ โดยต้องให้หน่วยงานที่ปฏิบัติในพื้นที่ไม่สับสนระหว่าง โครงการสร้างและพัฒนาเกษตรกรรุ่นใหม่ กับ โครงการบ่มเพาะเกษตรกรอนาคตในเขตปฏิรูปที่ดิน 4. ควรดำเนินงานโครงการในพื้นที่ที่มีความพร้อม ให้ความสำคัญ และยอมรับเป็นเกษตรกรรุ่นใหม่ และทบทวนว่า ควรทำในสถาบันอาชีวศึกษาทั้ง 76 แห่ง หรือไม่ 5. โครงการนี้นับเป็นโครงการที่ดี หากหน่วยงานมีความพร้อม และมีบูรณาการ เพราะเป็นโครงการที่สร้างโอกาสเข้าถึงองค์ความรู้ ทรัพยากรที่ดิน อาชีพ พัฒนาอาชีพเกษตรกรรม และแหล่งเงินทุน