กลุ่มที่ 3 Result Based Management : RBM

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
วาระที่ 3.6 ความก้าวหน้าของการดำเนินงานเกี่ยวกับตัวชี้วัด (กพร.)
Advertisements

การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ
ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1 ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 2
แนวทางการตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
การเปิดโอกาสให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็นและร่วมติดตาม ตรวจสอบผลการปฏิบัติราชการ วันที่ 29 มกราคม 2551.
โครงการสัมมนาเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การจัดทำแผนการพัฒนาและการปฏิบัติการ ของโครงการโดยเจ้าหน้าที่โครงการมีส่วนร่วม ปี พ.ศ.2552.
ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
ส่วนมาตรฐาน/ส่วนวิชา การ/ส่วนวิศวกรรม
การพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ
สำนักงานสหกรณ์จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ผลการปฏิบัติราชการตามคำ รับรอง การปฏิบัติราชการ ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
กรอบแนวคิด การพัฒนากองบริการการศึกษา.
การถ่ายทอดตัวชี้วัดระดับองค์กร ส่วนแผนงาน มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
แผนที่ยุทธศาสตร์สำนักพัฒนาโครงสร้างและระบบบริหารงานบุคคล
คำอธิบายแนวทางการให้คะแนน เอกสาร/หลักฐานการดำเนินงาน
การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
การจัดทำระบบบริหารผลการปฏิบัติงาน ขององค์กรและบุคคล Performance Management System( PMS ) โดย สำนักงานปศุสัตว์จังหวัดสมุทรสงคราม.
1. การดำเนินงานในรูปแบบคณะกรรมการ/คณะทำงาน
การเตรียมความพร้อมกรมอนามัย เพื่อเข้าสู่ประชาคมอาเซียน ปี 2558
แนวทางการดำเนินงานโครงการสำคัญ ปีงบประมาณพ.ศ.2554 กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร
คำอธิบาย พิจารณาจากระดับความสำเร็จของการดำเนินการ
โครงการ : การพัฒนาและ ปรับปรุงการทำงานด้วย Challenge โดย สำนักงานพัฒนา ชุมชนอำเภอเด่นชัย.
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การโดยสรุป 1 หน้า
สรุปผลการเข้ารับการฝึกอบรม หลักสูตร “LEADERSHIP DEVELOPMENT PROGRAM” ของ นางนงลักษณ์ บุญก่อ ตำแหน่งนักวิเคราะห์นโยบายและแผนชำนาญการ สำนักตรวจราชการและติดตามประเมินผล.
มิติที่ 4 ด้านการพัฒนาองค์กร
เอกสารประกอบการประชุมผู้บริหารกรมควบคุมโรค
การประชุมคณะทำงานหมวด 4 ครั้งที่ 1/2554 (ครั้งที่ 1)
มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อการประกันคุณภาพภายใน
Good Governance :GG.
Blueprint for Change.
Result-Based Management : RBM
กลุ่มที่ 1 กลุ่มภาคเหนือและภาคตะวันออก
สรุปประเด็นการประชุมสัมมนากลุ่มย่อย
การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ
องค์กรนำการปศุสัตว์ไทย
การบริหารความเสี่ยง (Risk Management)
การปรับปรุงอัตรากรมแพทย์ทหารเรือ
แผนยุทธศาสตร์กองทัพเรือ พ.ศ.๒๕๕๕ - ๒๕๕๘
โดย วัชรินทร์ จำปี รองเลขาธิการ กศน.
โครงการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA : Public Sector Management Quality Award) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ
กระบวนการวางแผนระดับจังหวัด
การบริหารเชิงยุทธศาสตร์
“การถ่ายทอดตัวชี้วัด จากระดับองค์กรลงสู่ระดับบุคคล”
ดัชนีชี้วัดระดับบุคคล หมายถึง เครื่องมือที่ใช้วัดและประเมินผลการดำเนินงานในด้านต่าง ๆ ที่สำคัญของบุคคลแต่ละตำแหน่งหรือแต่ละบุคคล ซึ่งแสดงผลเป็นข้อมูลในรูปของตัวเลขเพื่อสะท้อนประสิทธิภาพและประสิทธิผลในการทำงานของบุคคล.
“การพัฒนาสำนักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัด สู่การเป็นองค์กรสมรรถนะสูง”
คำรับรองการปฏิบัติ ราชการ กรมอนามัย ปี 2549 จำนวน 20 ตัวชี้วัด.
เส้นทางการพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
มาตรฐานการวัด การประเมินและ การประกันคุณภาพภายใน
Strategy Map สำนักส่งเสริมและพัฒนาการเกษตรเขตที่ 4 จังหวัดขอนแก่น ปีงบประมาณ พ.ศ ร้อยละหรือระดับความสำเร็จของการดำเนินงานโครงการ/กิจกรรมตามแผนงานโครงการปี
การประเมินผลการปฏิบัติราชการตามหลักเกณฑ์ และวิธีการที่ ก. พ
กลุ่มที่ 1.
นโยบายการดำเนินงาน “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” ปีงบประมาณ 2556
หลักการและเหตุผล หน่วยงานภาครัฐ/ เอกชน ต่างคนต่างทำงานไม่ได้เชื่อมประสานการทำงานเป็นเครือข่าย โรคและภัยสุขภาพเกิดขึ้นในทุกพื้นเพียงแต่แตกต่างกันในรายละเอียด.
การบริหารงานบุคลากร ภาครัฐแนวใหม่
การบริหารองค์ความรู้ ครั้งที่ 1/2552
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดอุทัยธานี ปี 2556
สำนักบูรณาการสาธารณภัย อุบัติภัย และความปลอดภัยทางถนน
เอกสารประกอบการประชุมคณะทำงานเพื่อจัดทำ ตัวชี้วัดและระบบการบริหาร ผลการ ปฏิบัติราชการ ของสำนักงานการปฏิรูปที่ดินเพื่อ เกษตรกรรม สำนักงานการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม.
มีอำนาจหน้าที่เกี่ยวกับ สำนักนโยบายป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
การพัฒนา องค์การ ประสิทธิภาพของ การปฏิบัติราชการ ประสิทธิผล ตามยุทธศาสตร์ เพิ่มประสิทธิภาพการปฏิบัติงาน ตามคำรับรอง การปฏิบัติ ราชการ ประจำปีงบประมาณ พ.
ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ โดย ผู้อำนวยการกลุ่มพัฒนาระบบบริหาร
การกำหนด การถ่ายทอดตัวชี้วัดและเป้าหมาย
การพัฒนาระบบการประเมินผลตัวชี้วัด แผนยุทธศาสตร์องค์กรสาธารณสุขน่าน ปี สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดน่าน นายแชน อะทะไชย นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ.
แนวทางการรายงาน ผลการปฏิบัติงานส่งเสริมการเกษตร ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
แนวทางการดำเนินการ พัฒนาระบบราชการกรมอนามัย ประจำปี 2553.
จุดเน้น ด้านการบริหารจัดการ
มีอำนาจหน้าที่เกี่ยวกับ กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร
ระบบข้อมูลสารสนเทศ 4.2 กระบวนงานพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
บูรณาการเพื่อบ้านเรา ( พช.) วันพุธที่ ๘ มิถุนายน ๒๕๕๔ ณ WAR ROOM กรมการ พัฒนาชุมชน อาคาร บี ศูนย์ราชการเฉลิมพระ เกียรติฯ แจ้งวัฒนะ.
สำนักสารนิเทศ กระทรวงสาธารณสุข
โครงการจัดตั้ง กองแผนงาน
ใบสำเนางานนำเสนอ:

กลุ่มที่ 3 Result Based Management : RBM

รายชื่อสมาชิก 1) คุณวรพจน์ ประทีปรัตน์ ประธาน 1) คุณวรพจน์ ประทีปรัตน์ ประธาน (สนจ. น่าน) 2) คุณพัชนี กิจถาวร ผู้นำเสนอ (สป.กระทรวงการต่างประเทศ) 3) คุณวาสนา วิมุกตานนท์ สมาชิก (สำนักข่าวกรองแห่งชาติ) 4) คุณเพ็ญศรี ไชยเฉลิมวงศ์ สมาชิก (สพร. กระทรวงการต่างประเทศ) 5) คุณจรรยา อักกะรังสี สมาชิก (สำนักงาน ก.พ.ร.) 6) คุณพรพรรณ บัวเกิด สมาชิก (กรมสารนิเทศ กระทรวงการต่างประเทศ) 7) คุณบพิธ ภาศิต สมาชิก (สนจ. เลย) 8) คุณกัญชลี จำนงค์วงศ์ เลขานุการ (สำนักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี)

RBM ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ มี 4 มิติ ประกอบด้วย มิติที่ 1 ประสิทธิผลตามแผนยุทธศาสตร์ มิติที่ 2 คุณภาพการให้บริการ มิติที่ 3 ประสิทธิภาพการปฏิบัติราชการ มิติที่ 4 การพัฒนาองค์กร

ปัจจัยที่นำไปสู่ความสำเร็จ : กรณีศึกษาของสำนักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี ปัจจัยที่นำไปสู่ความสำเร็จ : กรณีศึกษาของสำนักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี ผู้บริหารระดับสูงให้ความสนับสนุนในทุกด้านอย่างเต็มที่ มีคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ รับผิดชอบการพัฒนาระบบราชการ มีการถ่ายทอดเป้าหมายไปยังข้าราชการทุกระดับอย่าง ต่อเนื่อง มีการให้ความรู้/เผยแพร่ แนวคิดโดยช่องทางต่างๆ มีระบบติดตามผลการดำเนินงานและระบบแจ้งเตือน (warning system) ทำหน้าที่เป็นผู้ให้คำปรึกษา “ร่วมคิดและร่วมทำ” กับเจ้าภาพตัวชี้วัด เสริมสร้างให้ทุกสำนัก/กอง เข้ามามีส่วนร่วมในการดำเนินงาน ปรับปรุงระบบจัดเก็บข้อมูลให้ง่ายและสะดวกต่อการจัดเก็บ/รายงาน

ประเด็นปัญหาในการรายงานผลการปฏิบัติราชการ: กรณีศึกษาของกระทรวงการต่างประเทศ วิธีประเมินยังไม่สะท้อนการทำงานของ กต. เนื่องจากเป็นการประเมินระบบ one size fit all และไม่ได้สะท้อนภารกิจหลักของ กต. งานการต่างประเทศมีปัจจัยภายนอกหลายอย่าง ที่นอกเหนือความควบคุม การดำเนินยุทธศาสตร์ของ กต. เป็นในลักษณะ มุ่งผลสัมฤทธิ์ เป้าหมายสุดท้ายในภาพรวม มากกว่ากระบวนงาน ประเด็นต่างๆ โดยเฉพาะมิติที่ 1 ไม่สามารถชี้วัดได้ในเชิงปริมาณ

แนวทางการพัฒนาเครือข่ายการพัฒนาระบบราชการ มีการพบปะกันระหว่าง ก.พ.ร. และ ก.พ.ร. น้อย มากขึ้น จัดประชุมเชิงปฏิบัติการสำหรับกลุ่ม ก.พ.ร. น้อย ที่กลุ่มภารกิจมีลักษณะงานใกล้เคียงกัน เช่น ด้านความมั่นคง, ด้านเศรษฐกิจ ฯลฯ จัดทำ directory เครือข่ายเจ้าหน้าที่ ก.พ.ร. ของ แต่ละส่วนราชการ/จังหวัด จัดทำรายชื่อผู้เชี่ยวชาญ /ส่วนราชการ ที่สามารถเป็น best practice ในแต่ละ product เผยแพร่ใน website สำนักงาน ก.พ.ร. ให้ส่วนราชการทราบ

ขอบคุณ