หน่วยประมวลผลกลางและหน่วยความจำ Central Processing Unit and Memory

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
Advertisements

3. วิธีทำให้ข้อมูลเป็นสารสนเทศมีกี่วิธีอะไรบ้าง
การงานอาชีพและเทคโนโลยี เรื่อง อุปกรณ์คอมพิวเตอร์
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
ซอฟต์แวร์.
เทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์
ระบบปฏิบัติการ (Operating System : OS )
Chapter 1 Introduction to Information Technology
คลิก เข้าสู่การเรียนรู้
หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 เรื่อง หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
Central Processing Unit
ระบบคอมพิวเตอร์ (Computer System)
1.
PLC คืออะไร?           Programmable Logic Controller เครื่องควบคุมเชิงตรรกะ
หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
การทำงานขั้นพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงานคอมพิวเตอร์
ความรู้เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน ของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
หน่วยความจำ (Memory Unit)
Memory Internal Memory and External Memory
ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ (Personal Computer : PC)
? คอมพิวเตอร์ คอมพิวเตอร์ คือ อะไรนะ ?
การประยุกต์ ใช้งานมัลติมีเดีย
ระบบปฏิบัติการ ผู้สอน ผศ. รวินทร์ ไชยสิทธิพร chandra. ac
Computer Programming I
Computer Programming I
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
Functional components of a computer
ขั้นตอนการทำงานและอุปกรณ์คอมพิวเตอร์
CPU ไม่รวม I/O PROCESSOR , MATH CO-PROCESSOR
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
หน่วยนำข้อมูลเข้าและออก Input Unit And Output Unit
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
Information Technology I
เรื่ององค์ประกอบคอมพิวเตอร์
เรื่องคอมพิวเตอร์ทำงานอย่างไร
หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
หน่วยบันทึกข้อมูลของคอมพิวเตอร์ ครูสุวรรณ์ พิมเสน ครู คศ
วิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ เรื่อง. หลักการทำงาน และ
ผู้จัดทำ นางสาว สุทธิดา แสงอุไร มัธยมศึกษาปีที่ 4/2 เลขที่ 27.
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
การทำงานของคอมพิวเตอร์
Computer Components CPU: Intel Core i5-3210M (2.50 GHz, up to 3.10 GHz , 3MB cache) Display: 15.6 inch (1366x768) High Definition (1080p) LED Display Graphic:
หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
อธิบายหลักการทำงาน บทบาท และประโยชน์ของคอมพิวเตอร์
เครื่องคอมพิวเตอร์. ? เครื่องคำนวณอิเล็กทรอนิกส์ ประกอบด้วยวงจร อิเล็กทรอนิกส์และไอซี ชิปเซ็ต ต่างๆ ที่สามารถจดจำ ประมวลผลข้อมูล เปรียบเทียบ ตัดสินใจทาง.
เครื่องคอมพิวเตอร์ และอุปกรณ์
บทที่ 1 ระบบคอมพิวเตอร์.
สร้างสรรค์โดย เด็กชายทวีลาภ สุวัฒนพันธุ์กุล Taweelap Suwattanapunkul เด็กชายทวีลาภ สุวัฒนพันธุ์กุล Taweelap Suwattanapunkul.
“หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์"
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
หลักการเขียนโปรแกรม ( )
ระบบคอมพิวเตอร์ ระบบ (System) คือกลุ่มขององค์ประกอบที่มีความสัมพันธ์กันและทำงานร่วมกัน ซึ่งระบบคอมพิวเตอร์จะมีองค์ประกอบที่สำคัญ 3 ส่วน คือ ฮาร์ดแวร์ (Hardware)
วิชา การปฏิบัติการประกอบเครื่องคอมพิวเตอร์
Input / Output ธนวัฒน์ แซ่เอียบ.
ระบบคอมพิวเตอร์ (computer system)
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
Khon Kaen University Introduction to Computer Organisation and Architecture.
การทำงานของระบบคอมพิวเตอร์
โปรแกรมสำเร็จรูปในงานอาชีพ
หน่วยรับเข้า ทำหน้าที่รับข้อมูลจากผู้ใช้เข้าสู่หน่วยความจำหลัก ปัจจุบันมีสื่อต่าง ๆ ให้เลือกใช้ได้มากมาย แบ่งเป็นประเภทต่าง ๆ 1.แป้นพิมพ์ (Keyboard) 2.เมาส์
Integrated Network Card
วิชาเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และระบบปฏิบัติการ รหัสวิชา Computer Technology and Operating System บทที่ 1 เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ อ.รจนา วานนท์ Master.
ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์
ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์
บทที่ 2 ระบบคอมพิวเตอร์
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

หน่วยประมวลผลกลางและหน่วยความจำ Central Processing Unit and Memory Charter 4 1 Chapter 4 หน่วยประมวลผลกลางและหน่วยความจำ Central Processing Unit and Memory

หน่วยประมวลผลกลางและหน่วยความจำ Charter 4 2 หน่วยประมวลผลกลางและหน่วยความจำ

หน่วยประมวลผลกลาง (Central Processing Unit) Charter 4 3 หน่วยประมวลผลกลาง (Central Processing Unit) เป็นส่วนที่สำคัญที่สุดในคอมพิวเตอร์ เปรียบเสมือนสมองของคอมพิวเตอร์ ประกอบด้วยวงจรไฟฟ้าที่มีการทำงานซับซ้อนมากมายบรรจุยู่ในชิป ( Chip) ซึ่งมีขนาดเล็กมาก หน่วยประมวลผลกลาง เรียกโดยย่อว่า CPU (Central Processing Unit) หรือ โปรเซสเซอร์ (Processor)

หน่วยประมวลผลกลาง (Central Processing Unit) Charter 4 4 หน่วยประมวลผลกลาง (Central Processing Unit) หน้าที่ของหน่วยประมวลผลกลาง 1. อ่าน (Read) และแปลคำสั่ง (Comply) จากโปรแกรม 2. ประมวลผล (Process) คำสั่งจากโปรแกรม 3. รับ - ส่งข้อมูล (Send - Receive Data) กับหน่วยความจำ (Memory) ในเครื่อง 4. ติดต่อรับส่งข้อมูลกับผู้ใช้ 5. ย้ายข้อมูล (Transfer Data) และคำสั่งจากหน่วยงานหนึ่งไป ยังหน่วยงานหนึ่ง

หน่วยประมวลผลกลาง (Central Processing Unit) Charter 4 5 หน่วยประมวลผลกลาง (Central Processing Unit) ส่วนประกอบของหน่วยประมวลผลกลางแบ่งเป็น 2 ส่วน คือ 1. หน่วยควบคุม (Control Unit : CU) 2. หน่วยคำนวณทางคณิตศาสตร์และตรรกศาสตร์ (Arithmetic and Logical Unit : ALU)

หน่วยประมวลผลกลาง (Central Processing Unit) Charter 4 6 หน่วยประมวลผลกลาง (Central Processing Unit) หน่วยควบคุม (Control Unit : CU) เป็นส่วนที่มีหน้าที่ในการดำเนินงานควบคุมการทำงานของระบบทั้งหมด ได้แก่ 1. ติดต่อกับ ALU และหน่วยความจำหลัก (Main Memory) 2. ตัดสินใจ (Decision) ในการนำข้อมูลเข้าและออกจากหน่วยความจำ 3. กำหนดเส้นทางการส่งข่าวสาร 4. ถอดรหัสคำสั่งและควบคุมการถอดรหัสให้ถูกต้อง การทำงานของ CU จะอยู่ภายใต้การทำงานของโปรแกรมที่หน่วยความจำหลัก

หน่วยประมวลผลกลาง (Central Processing Unit) Charter 4 7 หน่วยประมวลผลกลาง (Central Processing Unit) หน่วยคำนวณทางคณิตศาสตร์และตรรกศาสตร์ (Arithmetic and Logical Unit : ALU) ทำหน้าที่หลัก ๆ 2 อย่างคือ 1. การดำเนินงานเชิงเลขคณิตศาสตร์ (Arithmetic Operation) เป็นการทำหน้าที่คำนวณทางคณิตศาสตร์ทั่วไป 2. การดำเนินงานเชิงตรรกวิทยา (Logical Operation) ทำหน้าที่ทางด้านการเปรียบเทียบข้อมูล โดยการทดสอบตามเงื่อนไข (Condition) ที่กำหนดไว้ 231401 Application of Computer Business Department of Computer Business

หน่วยประมวลผลกลาง (Central Processing Unit) Charter 4 8 หน่วยประมวลผลกลาง (Central Processing Unit) รีจีสเตอร์ (Register) เป็นแหล่งเก็บข้อมูลชั่วคราวที่มีลักษณะคล้ายกับหน่วยความจำ เป็นแหล่งเก็บข้อมูลพิเศษที่ใช้ในการประมวลผลของ CPU ทำงานได้เร็วกว่าหน่วยความจำธรรมดา รีจิสเตอร์ จะอยู่ในหน่วยประมวลผลกลางและถูกควบคุมโดยหน่วยควบคุม (CU) ซึ่งใช้เก็บข้อมูลหรือคำสั่งภายในที่ใช้ในการประมวลผล รีจีสเตอร์ก็เป็นหน่วยความจำชนิดหนึ่ง 231401 Application of Computer Business Department of Computer Business

หน่วยประมวลผลกลาง (Central Processing Unit) Charter 4 9 หน่วยประมวลผลกลาง (Central Processing Unit) ชนิดของรีจีสเตอร์ (Register) 1. Accumulator Register ใช้เก็บผลลัพธ์จากการคำนวณ 2. Instruction Register ใช้เก็บคำสั่งของโปรแกรมที่จะถูกประมวลผล 3. Address Register ใช้เก็บที่อยู่ของคำสั่งหรือข้อมูลในหน่วยความจำที่ จะถูกประมวลผล 4. Storage Register ใช้เก็บข้อมูลที่ส่งมาจากหน่วยความจำหรือผลลัพธ์ ที่ส่งไปยังหน่วยความจำ 5. General-purpose Register ใช้ทำงานทั่วไป 231401 Application of Computer Business Department of Computer Business

การทำงานของ CPU CPU CU ALU Output Unit Input Unit Secondary Charter 4 1010 การทำงานของ CPU Memory CPU CU ALU Output Unit Input Unit Secondary Storage Unit 231401 Application of Computer Business Department of Computer Business

หน่วยประมวลผลกลาง (Central Processing Unit) Charter 3 1111 หน่วยประมวลผลกลาง (Central Processing Unit) ขั้นตอนการประมวลผลของแต่ละคำสั่ง 1. หน่วยควบคุม (CU) อ่านคำสั่งมาจากหน่วยความจำหลัก 2.หน่วยควบคุม(CU)แปลคำสั่งให้เป็นรหัสการทำงาน (Operation Code หรือ Opcode) แล้วส่งข้อมูลไปให้ ALU 3. หน่วยคำนวณ (ALU) ประมวลผลคำสั่งและข้อมูลที่เกี่ยวข้อกับการคำนวณและเงื่อนไข 4นำผลลัพธ์ไปเก็บยังหน่วยความจำ ขั้น 1 และ 2 เรียกว่า ขั้นตอนเวลาของคำสั่ง (Instruction time) ขั้น 3 และ 4 เรียกว่า ขั้นตอนของเวลาปฏิบัติงาน (Execute time)

การทำงานของ CPU CPU หน่วยควบคุม (CU) หน่วยคำนวณ (ALU) วงจรการ คำนวณ Charter 4 1212 การทำงานของ CPU CPU หน่วยควบคุม (CU) หน่วยคำนวณ (ALU) วงจรการ คำนวณ Instruction Register Instruction Decoder Accumulator Register Storage Register Address Register วงจรตรรก วิทยา

หน่วยความจำ (Memory Unit) Charter 4 1313 หน่วยความจำ (Memory Unit) ทำหน้าที่ในการเก็บข้อมูลหรือคำสั่งการทำงานของคอมพิวเตอร์ เชื่อมต่อโดยตรงกับ CPU ซึ่ง CPU สามารถทำงานกับหน่วยความจำได้โดยตรง เราเรียกหน่วยความจำนี้ว่า หน่วยความจำหลัก (Main Memory) หรือ หน่วยความจำปฐม (Primary Memory) หรือหน่วยความจำภายใน (Internal Storage)

หน่วยความจำ (Memory Unit) Charter 4 1414 หน่วยความจำ (Memory Unit) ประเภทของหน่วยความจำ แบ่งได้ 2 ประเภท คือ 1. แบบลบไม่ได้ (Nonvolatile Memory) เป็นหน่วยความจำที่สามารถเก็บข้อมูลได้โดยไม่ต้องมีไฟเลี้ยง หรือเรียกว่า หน่วยความจำแบบอ่านอย่างเดียว (Read only Memory : ROM) 2. แบบลบได้ (Volatile Memory) เป็นหน่วยความจำที่ไม่สามารถเก็บข้อมูลได้เมื่อไม่มีไฟเลี้ยง หรือเรียกว่า หน่วยความจำแบบอ่านได้เขียนได้ (Rondom Access Memory : RAM)

หน่วยความจำ (Memory Unit) Charter 4 1515 หน่วยความจำ (Memory Unit) หน่วยความจำแบบลบไม่ได้ (Nonvolatile Memory) 1. ROM 2. PROM 3. EPROM 4. EEPROM 5. Flash ROM

หน่วยความจำ (Memory Unit) Charter 4 1616 หน่วยความจำ (Memory Unit) หน่วยความจำ แบบลบได้ (Volatile Memory) 1. RAM 2. DRAM 3. SRAM

หน่วยความจำ (Memory Unit) Charter 4 1717 หน่วยความจำ (Memory Unit) หน่วยความจำ แบบแคช (Cache Memory) เป็นหน่วยความจำที่สร้างมาจาก Static RAM มีความเร็วในการทำงานสูง เชื่อมต่อโดยตรงกับ CPU ใช้เก็บคำสั่งหรือข้อมูลก่อนที่จะถูกประมวลผลโดย CPU