โดย นายแพทย์ณรงค์ สหเมธาพัฒน์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Health Promotion & Prevention
Advertisements

วิสัยทัศน์ มุ่งสู่สังคมคุณภาพบนพื้นฐานความรับผิดชอบร่วมกัน
เส้นทางการพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
เป้าหมาย ตัวชี้วัด ปี 2557.
การเปลี่ยนแปลงเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ ปลัดกระทรวงสาธารณสุข
วิสัยทัศน์จังหวัดพะเยา “เมืองเกษตรปลอดภัย การท่องเที่ยวที่ยั่งยืน”
ประกาศหลักเกณฑ์การบริหารกองทุนฯปี ๒๕๕๗
วิสัยทัศน์ องค์กรหลักของประเทศในการส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อมเพื่อส่งเสริมให้ประชาชนมีสุขภาพดี 1.
นโยบายและงานเร่งด่วนของกระทรวงสาธารณสุข ปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๕๕
Health Promotion & Prevention
ดร. ธนวรรธน์ อิ่มสมบูรณ์
แนวทางการตรวจราชการและนิเทศงานกรณีปกติระดับกระทรวง กระทรวงสาธารณสุข เขตตรวจราชการที่ 5 ประจำปีงบประมาณ
Health Promotion & Prevention
Road Map เขตบริการสุขภาพที่ ๑๒
แนวทางการตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
นโยบายกระทรวงสาธารณสุข
นโยบายการตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข ภารกิจ(3)ประเด็นหลัก(5)หัวข้อ (19) 1. การตรวจติดตาม นโยบายและปัญหา เร่งด่วนของกระทรวง สาธารณสุข 1. การดำเนินงานเพื่อ.
จังหวัดสุพรรณบุรี. วันที่ ๑๑ ธันวาคม ๒๕๕๕ เขต มอบนโยบายการจัดทำแผน สุขภาพเขต การประชุมระดับเขต ครั้งที่ ๑ วันที่ ๑๓ – ๑๔ ธันวาคม ๒๕๕๕ แบ่งการ ดำเนินงานออกเป็น.
นโยบายการพัฒนา ตำบลจัดการสุขภาพดี วิสาหกิจชุมชนยั่งยืน
ระบบข้อมูล กระทรวงสาธารณสุข
การจัดทำแผนพัฒนาสุขภาพ ในเขตสุขภาพ
เป้าหมายการให้บริการและยุทธศาสตร์กระทรวงสาธารณสุข
การดำเนินงานโรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การโดยสรุป 1 หน้า
ยุทธศาสตร์การวิจัยฉบับที่ 8 ( ) vs ยุทธศาสตร์และแผนวิจัยระบบสาธารณสุข
ภารกิจและนโยบาย 6 ยุทธศาสตร์ 35 กลยุทธ์ ของ ส.อ.ศ. บัญญัติ สมสุพรรณ
แผนการประชุม จัดทำแผนปฏิบัติการ ๒๕๕๖
แผนปฏิบัติราชการการศึกษา ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
ผู้อำนวยการสำนักการแพทย์
นพ.ก้องภพ สีละพัฒน์ ผู้นิเทศงานปฐมภูมิ
รอบที่ 1 ประจำปี 2556 จังหวัดเพชรบุรี ระหว่าง วันที่ มีนาคม 2556.
ยุทธศาสตร์ กรมสุขภาพจิต
การขับเคลื่อนเชิงระบบ เพื่อแก้ไขปัญหาฟันผุในเด็ก 0-5 ปี
เชื่อมโยงยุทธศาสตร์ กับนโยบายรัฐบาล และ วท.
แนวทางการดำเนินงานของกรมอนามัย ประจำปีงบประมาณ 2551
น.พ. ศิริวัฒน์ ทิยพ์ธราดล
การบริหารเชิงยุทธศาสตร์
แนวทางการดำเนินงานตามนโยบายสำคัญของกระทรวงสาธารณสุข
พัฒนาคุณภาพเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอและหน่วยบริการ ปฐมภูมิ
วัตถุประสงค์ และผลผลิตหลักโครงการ
ระเบียบวาระการเตรียมทีมนิเทศงาน ปี 2557
“การพัฒนาสำนักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัด สู่การเป็นองค์กรสมรรถนะสูง”
สรุปกิจกรรมการประชุมวันที่ 6 ตุลาคม 2553
นโยบาย ส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค ของกระทรวงสาธารณสุข
คณะที่ ๔ การพัฒนาสุขภาพ ภาคประชาชน ปี 2552 คณะที่ ๔ การพัฒนาสุขภาพ ภาคประชาชน ปี 2552 นพ. นิทัศน์ รายยวา ผู้ตรวจราชการ กระทรวงสาธารณสุข.
เส้นทางการพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
ความคาดหวังกับรพ.สต.มิติใหม่ของการพัฒนางานสาธารณสุข
การพัฒนาระบบฐานข้อมูล และระบบสารสนเทศ จังหวัดประจวบคีรีขันธ์
การป้องกันและควบคุมโรคในเขตบริการสุขภาพ
นโยบายโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
นโยบายและแนวทางการดำเนินงาน สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดชลบุรี
การดำเนินงานระบบสุขภาพอำเภอ (DHS) ตามนโยบาย กระทรวงสาธารณสุข
องค์ประกอบและระยะเวลาที่ เปลี่ยนแปลง  จากมีวาระ 2 ปี เป็น 4 ปี  เพิ่ม ผู้แทนหน่วยรับเรื่องร้องเรียน อิสระ หรือศูนย์ประสานงานภาค ประชาชน หรือองค์กรเอกชนด้าน.
ประชุมจัดทำแผนปฏิบัติการ เขตบริการสุขภาพนครชัยบุรินทร์ ประจำปี 2558
การเชื่อมโยงนโยบายบริการสุขภาพลงสู่อำเภอ, ตำบล
นโยบายกรมสุขภาพจิต ปีงบประมาณ 2554
เป็นผู้นำด้านวิชาการ และเทคโนโลยีการ ป้องกันและควบคุมโรค ระดับจังหวัดและเขต.
วิสัยทัศน์จังหวัด “เมืองน่าอยู่ ประตูการค้าชายแดน”
ผลลัพธ์ปี 2556 สำหรับทีมงานdhs
เป้าหมาย ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
กรอบการจัดทำแผนพัฒนาโรงพยาบาล ร้อยเอ็ด ประจำปี ๒๕๕๖ แนวคิด ปี ๒๕๕๖ ปีแห่งการวิเคราะห์และประเมิน ตนเองอย่างเข้มข้น วิเคราะห์เพื่อ พัฒนางาน ให้ได้ตาม มาตรฐาน.
ประชุมชี้แจงทำความเข้าใจ ตัวชี้วัดที่กรมควบคุมโรครับผิดชอบ ในการตรวจราชการกระทรวง สาธารณสุข ปี กุมภาพันธ์ 2556.
"วาริชภูมิน่าอยู่ ผู้คนสุขภาพดี ภาคี เข้มแข็ง"
และแนวทางการตรวจราชการ คณะที่ 1 : การพัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย
และการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ ประจำปี ๒๕๕๕ สาธารณสุขอำเภอป่าติ้ว
แผนที่ยุทธศาสตร์กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย พ.ศ
ยุทธศาสตร์การพัฒนารพ. สต. แบบบูรณาการจังหวัดแพร่ ประจำปีพ. ศ
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
Output , Outcome , Impact ของระบบสุขภาพ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

โดย นายแพทย์ณรงค์ สหเมธาพัฒน์ ปลัดกระทรวงสาธารณสุข 19 พฤศจิกายน 2555

วิสัยทัศน์ พันธกิจ กระทรวงสาธารณสุขเป็นองค์กรหลักในการพัฒนาระบบสุขภาพ โดยการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วน เพื่อให้ประชาชนมีสุขภาพดี พันธกิจ พัฒนาและบริหารนโยบายและยุทธศาสตร์ด้านสุขภาพ เสริมสร้างระบบบริหารจัดการอย่างมีธรรมาภิบาลและจัดระบบบริการสุขภาพที่มีคุณภาพมาตรฐาน เสริมสร้างการมีส่วนร่วมจากทุกภาคส่วนในการพัฒนาระบบสุขภาพ วิจัยและพัฒนาและการจัดการความรู้ด้านสุขภาพ วิสัยทัศน์และพันธกิจ วิสัยทัศน์: กระทรวงสาธารณสุขเป็นองค์กรหลักในการพัฒนาระบบสุขภาพ โดยการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วน เพื่อให้ประชาชนมีสุขภาพดี พันธกิจ: 1.พัฒนาและบริหารนโยบายและยุทธศาสตร์ด้านสุขภาพ 2. เสริมสร้างระบบบริหารจัดการอย่างมีธรรมาภิบาลและจัดระบบบริการสุขภาพที่มีคุณภาพมาตรฐาน 3. เสริมสร้างการมีส่วนร่วมจากทุกภาคส่วนในการพัฒนาระบบสุขภาพ 4. วิจัยและพัฒนาและการจัดการความรู้ด้านสุขภาพ

ยุทธศาสตร์การดำเนินงานด้านสาธารณสุข 2557 รัฐบาล Country Strategy ยุทธศาสตร์ สธ ประเด็นยุทธศาสตร์ Service Plan 1.2 ยาเสพติด ด้านเกษตร หลักประกันสุขภาพ 1.5 ภาคใต้ การเชื่อมโยงเศรษฐกิจในภูมิภาค ข้อมูล นโยบาย 1.6 ต่างประเทศ การยกระดับคุณภาพและมาตรฐานบริการสาธารณสุข สาธารณสุขภัย 1.14 ระบบประกันสุขภาพ การดูแลผู้สูงอายุเด็ก สตรี และผู้ด้อยโอกาส PP ประเด็น / PP กลุ่มวัย 2.4 ระบบเตรียมความพร้อม ระบบ NCD 2.5 ต่างด้าว แรงงาน อาหารปลอดภัย 4.3.1 ลงทุนด้านสุขภาพ การปรับโครงสร้างระบบราชการ ปัญหาพื้นฐาน บุคลากร 4.3.2 บุคลากร การพัฒนากำลังคนภาครัฐ แพทย์แผนไทยและอสม. 4.3.3 สร้างสุขภาพ ต่างประเทศ การแก้ไขปัญหาความมั่นคงจังหวัดชายแดนภาคใต้ 4.3.4 อสม. Medical Hub 4.3.5 กลุ่มวัย ยาเสพติด 4.3.6 ออกกำลังกาย สาธารณสุขใน กทม. 4.3.7 Medical Hub พื้นที่สูงและโครงการพระราชดำริ

ภาพรวมยุทธศาสตร์การดำเนินงานด้านสุขภาพ 1. P&P 2. บริการ รักษา ฟื้นฟู 3. อุบัติเหตุ ฉุกเฉิน Basic Package Strategic Focus ประชาชนแข็งแรง เศรษฐกิจเติบโต 1. โครงการพระราชดำริ&พื้นที่สูง 2. ต่างประเทศ & ASEAN 3. แรงงานต่างด้าว & Border Health 4. Medical Hub & PPP 5. ยาเสพติด 6. ภาคใต้ 7. สุขภาพ กทม. Event Based Project 1. Healthy Taxi 2. มหกรรมฮูลาฮูป 3. ปลายฝนต้นหนาว 4. Gift for Health 5. อุบัติเหตุเทศกาล Specific Issue

ตัวชี้วัด อายุคาดเฉลี่ยเมื่อแรกเกิด ไม่น้อยกว่า 80 ปี อายุคาดเฉลี่ยของการมีสุขภาพดี ไม่น้อยกว่า 70 ปี Output Outcome Impact กระบวนการ 18 ประสิทธิภาพ 5 ผลลัพธ์ 1-2 ปี 19 ผลลัพธ์ 3-5 ปี

Country Strategy การจัดระบบบริการ - Service Plan - P&P - กำลังคน - ระบบข้อมูล - ระบบการเงินการคลัง - Technology Assessment - Good Governance

การบูรณาการ 3 กองทุน เพิ่มประสิทธิภาพ สปสช. สปส. การรักษา ข้าราชการ 3 กองทุน สปสช. สปส. ข้าราชการ เพิ่มประสิทธิภาพ ลดค่าใช้จ่าย ลดความซ้ำซ้อน การรักษา ตามกลุ่มอายุ พัฒนาระบบบริการ เสริม P&P National Program สปสช. สสส. งบ กท.สธ. P&P

การบริหารจัดการระบบบริการ โดยใช้ทรัพยากรร่วมกัน การบริหารจัดการระบบบริการ โดยใช้ทรัพยากรร่วมกัน พัฒนา 12 เครือข่ายบริการ ลดตาย -โครงสร้างพื้นฐาน เครื่องมือ อุปกรณ์ ศักยภาพ บุคลากร ระบบ ข้อมูล การพัฒนาสถานบริการระดับต่าง ๆ Excellence Center พัฒนาขีดความสามารถ 10 สาขา พัฒนาระบบฉุกเฉินและระบบส่งต่อ การจัดบริการของหน่วยงานรอง -กท.กลาโหม -รพ.ตำรวจ กท.มหาดไทย ฯลฯ ตติยภูมิ ทุติยภูมิ -พัฒนาระบบ บริการปฐมภูมิ ในชุมชนเมือง - Telemedicine รพ.สต.

Preparedness, Surveillance & Response P&P กลุ่มวัย Basic Services National Programs Area Health กลุ่มสตรีและทารก ANC, WCC, EPI EWEC, ANC (Plus) คุณภาพ Community Health Environmental Health Preparedness, Surveillance & Response กลุ่มเด็กปฐมวัย Vaccine, Growth monitoring Child development, IQ/EQ, Childhood oral health กลุ่มเยาวชนและวัยรุ่น Vaccine, Oral health Sexual & Reproductive Health กลุ่มวัยทำงาน Screening of DM/HT Screening of cervix and breast cancer NCD (DM/HT, Cancer, Stroke, COPD) กลุ่มผู้สูงอายุ ผู้พิการ Ageing Home Care, Alzheimer’s disease Disabled Health

P&P กระทรวงสาธารณสุข รับผิดชอบแผนงานระดับชาติ การแก้ไขปัญหาสุขภาพในพื้นที่ และการพัฒนาศักยภาพของระบบบริการสุขภาพ เพื่อให้หน่วยงานต่างๆ มีความพร้อมในการแก้ไขปัญหาสุขภาพอย่างมีประสิทธิภาพ สปสช. รับผิดชอบงานบริการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคในระดับบุคคล และการแก้ไขปัญหาสุขภาพในพื้นที่ (ที่เกิดจากปัญหาบุคคล) - สสส. รับผิดชอบการพัฒนาสุขภาพชุมชน ตลอดจนการมีส่วนร่วมของชุมชนและท้องถิ่น

ภาพรวมยุทธศาสตร์การดำเนินงานด้านสุขภาพ Basic Package Strategic Focus ประชาชนแข็งแรง เศรษฐกิจเติบโต Specific Issue