การวิจัยและพัฒนาผู้เรียนด้วย E-Learning

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Getting Started with e-Learning
Advertisements

กระบวนการสร้างแบบทดสอบ
การพัฒนาระบบการเรียนการสอน : Cyber University
กลุ่มสาระการเรียนรู้ การงานอาชีพและเทคโนโลยี
กระบวนการสร้างแบบทดสอบ อาจารย์พิมพ์ทอง สังสุทธิพงศ์
การวิเคราะห์ข้อสอบ อาจารย์ปรีชา เครือวรรณ อาจารย์สมพงษ์ พันธุรัตน์
การวิเคราะห์ข้อสอบ อาจารย์ปรีชา เครือวรรณ อาจารย์สมพงษ์ พันธุรัตน์
การวิจัย RESEARCH.
การสร้างสื่อด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์
ADDIE model หลักการออกแบบของ
หลักการออกแบบของ ADDIE model ADDIE model
การสร้างสื่อสิ่งพิมพ์
การสร้างและการหาคุณภาพเครื่องมือวิจัย
วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล
นางพัชราภรณ์ หงษ์สิบสอง และผู้ช่วยศาสตราจารย์นันทา เติมสมบัติถาวร
คณะผู้วิจัย ภาควิชา คณะวิศวกรรมศาสตร์ ม.เทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
การติดตาม และประเมินโครงการ.
การทำวิทยานิพนธ์อย่างไรให้สำเร็จอย่างมีความสุข
บทที่ 6 สถิติที่ใช้ในการ วัดผลการศึกษา. การวิเคราะห์ข้อสอบ ก่อนนำไปใช้  จุดมุ่งหมาย เพื่อนำผลการวิเคราะห์ ไปเป็นข้อมูลในการ ปรับปรุงแก้ไขข้อสอบ ก่อนที่จะนำข้อสอบไปใช้
การเขียนรายงานการใช้เอกสารประกอบการสอน
การวัดและประเมินพัฒนาการของผู้เรียน
การวิเคราะห์ข้อสอบ ดร.ปรัชญนันท์ นิลสุข
การวิจัยในชั้นเรียนด้านอาชีวศึกษา
การพัฒนางานประจำสู่การวิจัย Routine to Research : R2R
ดร.ปรัชญนันท์ นิลสุข ดร.ปณิตา วรรณพิรุณ
การพัฒนาสื่อการสอนอิเล็กทรอนิกส์โดยครูต้นแบบ สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา ดร.ปรัชญนันท์ นิลสุข
แนวทางการพัฒนา e-Learning เพื่อการศึกษา ยุค e-Learning 2.0
Content Management System with Joomla
การจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศ และนวัตกรรมการศึกษา ดร
ผศ.ดร.ปรัชญนันท์ นิลสุข
IC เพื่อการประชาสัมพันธ์
บทที่ 7 การวิเคราะห์ความเชื่อถือได้
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน กลุ่มสาระการเรียนรู้ ศิลปะ สาระ ดนตรี เรื่อง การเรียนดนตรีพื้นบ้านของจังหวัดน่าน.
การเขียนรายงานการวิจัย
การตรวจสอบคุณภาพของเครื่องมือ วัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัย
ภายใต้โครงการลงทุนด้านการศึกษาและการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ และคณิตศาสตร์ ตามแผนปฏิบัติการไทยเข้มแข็ง 2555 แผนฟื้นฟูเศรษฐกิจ ระยะที่ 2 : โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา.
การสร้างและการหาคุณภาพเครื่องมือวิจัย
งานวิจัยการเรียนการสอน การสร้างและพัฒนาการจัดการเรียนการสอน โดยใช้เอกสารประกอบการเรียนการสอน เรื่องปัจจัยที่มีผลต่อการดำเนินธุรกิจ วิชาการหาข้อมูลทางการตลาด.
ชื่อเรื่อง การใช้สื่อแบบฝึกทักษะภาพสามมิติเพื่อพัฒนาการเรียน การสอนหน่วยที่ 1 การบำรุงรักษาเครื่องยนต์เล็ก วิชางานเครื่องยนต์เล็ก รหัส
ระหว่างวันที่ กรกฎาคม 2557 ณ ภูเขางาม รีสอร์ท จ.นครนายก
LOGO ดร. ปรัชญนันท์ นิลสุข Open Source.
นางสาวอังคณา วิศาลนิตย์ วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
การพัฒนาระบบสนับสนุนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้
การออกแบบการสอน รูปแบบ ADDIE Model
การวิจัยการบริหาร ทรัพยากรมนุษย์ ดร. สุจิตรา ธนานันท์
ความพร้อมในการเรียนด้วยอีเลิร์นนิ่ง ของนักศึกษาพยาบาลระดับปริญญาเอก The e-Learning Readiness of PhD. Nursing Students ดร. เจือจันทน์ วัฒกีเจริญ มหาวิทยาลัย.
การสร้างเครื่องมือและรวบรวมข้อมูลเพื่อจัดทำผลงานทางวิชาการ
วิทยาลัยอาชีวศึกษาโปลีเทคนิคระยอง
ผลงานวิจัยเรื่อง “ การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาการขาย 1 เรื่อง ประเภทของการขาย โดยใช้แบบฝึกทักษะ ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 1.
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
นางสาวสุกัญญา กันศิริ
การจัดการเรียนการสอนแบบร่วมมือวิธีจิ๊กซอร์ ที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาการบัญชีร่วมค้าและฝากขาย เรื่อง ลักษณะโดยทั่วไปของการฝากขาย ของนักเรียนชั้น.
ผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาจากการเรียน ด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนบนเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ด้วยการเรียนรู้ร่วมกันโดยใช้เทคนิคการใช้ปัญหาเป็นฐานร่วมกับ เทคนิคจิกซอว์ เรื่อง อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น.
วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
ผลงานวิจัยเรื่อง “ การศึกษาผลสัมฤทธิ์การเรียนวิชาเครื่องส่งวิทยุและสายอากาศ เรื่อง วงจรเรโซแนนท์ โดยใช้ชุดฝึกเครื่องส่งวิทยุ AM. ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่ วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
วิทยาลัยอาชีวศึกษาโปลีเทคนิคระยอง
การสร้างสื่อ e-Learning
ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 3
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาเศรษฐศาสตร์ผู้บริโภคของผู้เรียน ระดับประกาศนียบัตร วิทยาลัยเทคโนโลยีพระรามหก.
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการภาษานุสรณ์บางแค
ผู้วิจัย : นางสาวสรชา เฟื่องสังข์
นายอนุพงศ์ อินทนิด วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครูภาคเหนือ จังหวัดลำพูน
การออกแบบสื่อเพื่อการศึกษา ADDIE Model
หลักการออกแบบของ ADDIE model
วิทยาลัยเทคโนโลยีชุมพรบริหารธุรกิจ อำเภอหลังสวน จังหวัดชุมพร
การทดลองใช้เอกสารประกอบการเรียน ในวิชาบัญชีเบื้องต้น 2
หลักการออกแบบของ ADDIE model มีขั้นตอนดังนี้. 1
รายงานผลการพัฒนาความรู้เกี่ยวกับระบบสารสนเทศสำหรับบุคลากร วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่ ผู้วิจัย อาจารย์จิตรสนา พรมสุทธิ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การวิจัยและพัฒนาผู้เรียนด้วย E-Learning ดร.ปรัชญนันท์ นิลสุข prachyanunn@kmutnb.ac.th http://www.prachyanun.com ภาควิชาครุศาสตร์เทคโนโลยี คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ

ขั้นตอนการวิจัยและพัฒนาผู้เรียน การวิเคราะห์เนื้อหา การวิเคราะห์ผู้เรียน การสร้างเครื่องมือวิจัย การทดสอบเครื่องมือวิจัย การวิเคราะห์ข้อสอบ การเก็บรวบรวมข้อมูลวิจัย การหาประสิทธิภาพ การหาประสิทธิผล

เครื่องมือในการวิจัยและพัฒนาผู้เรียน แบบประเมินสื่ออีเลินนิ่ง แบบทดสอบก่อนเรียน แบบทดสอบระหว่างเรียน แบบทดสอบท้ายบทเรียน แบบประเมินความพึงพอใจ

การสร้างเครื่องมือวิจัย การสร้างสื่ออีเลินนิ่ง (Moodle) การสร้างแบบประเมินสื่ออีเลินนิ่ง - แบบประเมินสื่ออีเลินนิ่ง (กรมวิชาการ) การสร้างแบบทดสอบตามวัตถุประสงค์ - แบบทดสอบก่อนเรียน - แบบทดสอบระหว่างเรียน - แบบทดสอบหลังเรียน

ขั้นตอนการพัฒนา E-Learning Instructional Design (ID) ADDIE การวิเคราะห์ (Analysis) การออกแบบ (Design) การพัฒนา (Development) การนำไปใช้ (Implement) การประเมินผล (Evaluation)

ขั้นตอนการสร้างแบบทดสอบ การวิเคราะห์วัตถุประสงค์ การกำหนดจำนวนข้อสอบตามวัตถุประสงค์ การสร้างข้อสอบแบบปรนัย การสร้างข้อสอบแบบอัตนัย

การ try out ข้อสอบ การนำเอาข้อสอบที่สร้างขึ้นทดลองใช้ (Try out) กลุ่มที่ทดสอบข้อสอบ - เป็นผู้เรียนที่เคยเรียนวิชานี้มาแล้ว - เป็นผู้เรียนที่กำลังเรียนวิชานี้ แต่คนละกลุ่มกับกลุ่มตัวอย่าง - จำนวนผู้ทดสอบข้อสอบ ควรมากกว่ากลุ่มตัวอย่าง

การวิเคราะห์ข้อสอบ ค่าความยากง่าย (P) อยู่ระหว่าง 0.2- 0.8 เทคนิค 25 % กลุ่มคะแนนสูง 25 % กลุ่มคะแนนต่ำ 25 % คะแนนกลาง ๆ ตัดทิ้งทั้งหมด ค่าความยากง่าย (P) อยู่ระหว่าง 0.2- 0.8 ค่าอำนาจจำแนก (D) ตั้งแต่ 0.25 ขึ้นไป ค่าความเชื่อมั่น 0.8 ขึ้นไป

การทดสอบเครื่องมือการวิจัย Tryout แบบทดสอบ One to One Small Group Large Group / Filed Study การหาประสิทธิภาพ 80/80

การทดสอบสื่ออีเลินนิ่ง One to One Small Group Large Group / Filed Study การหาประสิทธิภาพ 80/80

One to One การทดลองแบบหนึ่งต่อหนึ่ง ทดลองให้นักเรียนหนึ่งคนเข้าเรียนรายวิชาใน e-Learning สังเกตปัญหาในการเรียน สัมภาษณ์การเข้าใช้ระบบ e-Learning หาข้อขัดข้องทำการแก้ไข

Small Group การทดลองกลุ่มเล็ก 3-5 คน ทดลองให้นักเรียนสามคนแบ่งเป็นเด็กเก่ง เด็กปานกลาง เด็กอ่อน เข้าเรียนในรายวิชา e-Learning สังเกตพฤติกรรมและปัญหาในการเข้าเรียน สัมภาษณ์ปัญหาในการเข้าเรียนทั้งสามคน นำมาวิเคราะห์ปัญหาปรับแก้ไขข้อบกพร่องที่เกิดขึ้น

Large Group การทดลองกลุ่มใหญ่ 9-15 คน ทดลองให้นักเรียนเก้าคนเข้าเรียนในรายวิชา e-Learning สังเกตพฤติกรรมและปัญหาในการเข้าเรียน สัมภาษณ์ปัญหาในการเข้าเรียนทั้งสามคน นำมาวิเคราะห์ปัญหา ปรับแก้ไขข้อบกพร่องที่เกิดขึ้น

Filed Study การทดลองจริงหรือการทดลองภาคสนาม กลุ่มทดลองเรียน E-Learning จำนวน 30 คน แบบวัดผล 3 ช่วงคือ - แบบทดสอบก่อนเรียน - แบบทดสอบระหว่างเรียน - แบบทดสอบหลังเรียน

การหาประสิทธิภาพสื่อ สูตรการหาประสิทธิภาพสื่ออีเลินนิ่ง E1/E2 = 80/80 80 ตัวแรก หมายถึง คะแนนเฉลี่ยของผู้เรียนทุกคนได้จากแบบทดสอบระหว่างเรียน 80 ตัวหลัง หมายถึง คะแนนเฉลี่ยของผู้เรียนทุกคนได้จากแบบทดสอบหลังเรียน

การหาค่า E1

การหาค่า E2

การหาประสิทธิผลสื่ออีเลินนิ่ง การนำคะแนนจากแบบทดสอบหลังเรียน ลบด้วย คะแนนจากแบบทดสอบก่อนเรียน จะได้เป็นอัตราความก้าวหน้าของผู้เรียนระหว่างก่อนเรียนและหลังเรียน Epost – Epre > 60

การหาความพึงพอใจ ระดับความคิดเห็น ข้อเสนอแนะ ในการปรับปรุง ดีมาก 5 ดี   ระดับความคิดเห็น   ข้อเสนอแนะ ในการปรับปรุง ดีมาก 5 ดี 4 ปานกลาง 3 พอใช้ 2 ควร ปรับปรุง 1 ด้านการประเมิน 1. ด้านตัวอักษร (Text) 2. ด้านภาพนิ่ง (Image) 3. ด้านภาพเคลื่อนไหว (Animation) 4. ด้านเสียง (Audio)

ขั้นตอนการดำเนินการในการอบรม สร้างข้อสอบให้เสร็จก่อนกลับไปเก็บข้อมูล สร้างแบบทดสอบใน E-Learning ให้เสร็จเพื่อนำไปทดสอบใช้งานจริง เขียนเค้าโครงการวิจัย 3 บท เพื่อนำไปใช้ในการกำหนดขั้นตอนการวิจัย ปรับปรุง E-Learning ให้พร้อมที่ผู้เรียนจะใช้เรียนจริง

ขั้นตอนการเก็บข้อมูลตามสภาพจริง ทดสอบใช้งาน E-Learning ทดสอบข้อสอบกับนักเรียนที่ไม่ใช่กลุ่มตัวอย่าง ทดสอบก่อนเรียนกับนักเรียนที่เป็นกลุ่มตัวอย่าง ทดสอบระหว่างเรียนกับนักเรียนที่เป็นกลุ่มตัวอย่าง ทดสอบหลังเรียนกับนักเรียนที่เป็นกลุ่มตัวอย่าง ทดสอบความพึงพอใจของนักเรียนที่เป็นกลุ่มตัวอย่าง เก็บข้อมูลการใช้งานกิจกรรมใน E-Learning

คำถาม ???

วิทยากร